1 / 90

Emergency care for Cardiovascular Patients

Emergency care for Cardiovascular Patients. วัตถุประสงค์. 1. ทราบพยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรคเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้แก่ โรคหัวใจวาย โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคความดันโลหิตสูงวิกฤต และ โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

Download Presentation

Emergency care for Cardiovascular Patients

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Emergency care for Cardiovascular Patients

  2. วัตถุประสงค์ • 1. ทราบพยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรคเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้แก่ โรคหัวใจวาย โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคความดันโลหิตสูงวิกฤต และ โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ • 2. ทราบสาเหตุ การวินิจฉัย และแนวทางในการรักษาโรคเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดเบื้องต้น

  3. Pathophysiology of the cardiovascular system 1.Congestive heart failure (ภาวะหัวใจล้มเหลว) 2.Cardiac arrhythmia (ความผิดปกติในอัตราการเต้นและจังหวะการเต้นของหัวใจ) 3.Ischemic heart diseases (ภาวะหัวใจขาดเลือด) 4.Hypertension Emergency (ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต)

  4. 1.Congestive heart failure (ภาวะหัวใจล้มเหลว) • ภาวะที่หัวใจไม่สามารถจะบีบตัวเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงตามส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในขณะนั้น (CO) • systolic dysfunction • กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถบีบตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายได้ • diastolic dysfunction • กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถคลายตัวเพื่อรองรับเลือดเข้าสู่หัวใจได้ดีพอ

  5. สาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจวาย (Etiology) 1.ความผิดปกติของหัวใจ ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardium) ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium) 2. ปัจจัยอื่นๆ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายโต โรคเบาหวาน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ต่อมธัยรอยด์ผิดปกติ ผู้สูงอายุ การดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ การติดเชื้อ ภาวะไข้สูง ไข้รูห์มาติก

  6. กลไกในการปรับตัวของหัวใจ(compensatory mechanism) • 1. เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ 2. เพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ Starling law เรียกว่าventricular remodeling 3. เพิ่มปริมาณเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ กระตุ้นการหลั่งของ renin กระตุ้นการหลั่งของ norepinephrine (NE)

  7. Compensated heart ร่างกายสามารถปรับระดับของจำนวนเลือดที่ออกมาเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอผู้ป่วยจะไม่แสดงอาการใดๆ

  8. Decompensatory heart การปรับตัวต่างๆของร่างกายไม่สามารถปรับระดับของจำนวนเลือดให้เพียงพอต่อความต้องการได้ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจล้มเหลวเกิดขึ้น

  9. เหนื่อยง่าย หายใจไม่อิ่ม บวมบริเวณเท้าข้อเท้าหรือช่องท้อง อ่อนเพลียไม่มีแรง หัวใจเต้นเร็ว เบื่ออาหาร นอนราบไม่ได้ หลอดเลือดดำที่คอโป่ง น้ำหนักตัวขึ้นเร็ว ไอเรื้อรัง อาการทางคลินิก (Clinical manifestation)

  10. ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว • 1. ภาวะหัวใจล้มเหลวข้างซ้าย (Left side heart failure) 2.ภาวะหัวใจล้มเหลวข้างขวา (Right side heart failure)

  11. ภาวะหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายภาวะหัวใจล้มเหลวข้างซ้าย • การเสื่อมสมรรถภาพของหัวใจห้องล่างซ้าย • ไม่สามารถบีบตัวให้เลือดออกจาก left ventricle ไปเลี้ยงร่างกายได้ทั้งหมด • left ventricular end diastolic volume (LVEDV) มากขึ้น • มีเลือดไหลย้อนไปที่ปอดมากขึ้น • pulmonary congestion

  12. อาการแสดงที่สำคัญ • dyspnea • orthopnea • Paroxysmal nocturnal dyspnea

  13. 2. หัวใจข้างขวาล้มเหลว • เกิดการเสื่อมสมรถภาพของหัวใจห้องขวา • ทำให้ right ventricle ไม่สามารถบีบเลือดไปที่ปอดได้เต็มที่ • เกิดการคั่งของหัวใจข้างขวา • เลือดดำจากร่างกายไหลเข้าหัวใจห้องบนขวาไม่ได้ • เกิดการคั่งของเลือดตามหลอดเลือดดำของร่างกาย

  14. อาการแสดงที่สำคัญ • -หอบเหนื่อยหายใจเร็ว • -บวมโดยเฉพาะที่ขา ข้อเท้า • เมื่อกดดูจะพบว่ากดบุ๋ม (pitting edema) • หลอดเลือดดำที่คอโป่ง • ท้องมาร ตับโต

  15. Diagnosis and investigation วินิจฉัยตามอาการแสดงทางคลินิก • หายใจหอบเหนื่อย • ผู้ป่วยมักมีอาการนอนราบไม่ได้ • ชีพจรมักมีการเต้นแรง • มีเสียงน้ำในปอด (fine crepitation) • มักมีหลอดเลือดดำที่คอโป่ง (โดยเฉพาะในผู้ที่มีหัวใจข้างขวาล้มเหลว) • บวมตามร่างกาย (pitting edema) • ตับโต • อ่อนเพลียเบื่ออาหาร

  16. Diagnosis and Investigation • Electrocardiographic (EKG) • X-ray : cardiomegaly, pulmonary edema • Echocardiography : estimate election fraction and cardiac output

  17. แนวทางดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น (Initial Treatment) Airway & Breating : O2, Definite airway Circulation : แก้ไขภาวะ shock ที่อาจเกิดร่วม หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำถ้าไม่จำเป็น

  18. แนวทางการรักษา (Specific Treatment) • แก้ไขที่สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว • หลีกเลี่ยงสิ่งชักนำเช่นจำกัดกิจกรรมประจำวัน • การรักษาโดยใช้ยาได้แก่ยาขยายหลอดเลือด, ยาที่เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ (inotropic drugs), ยาขับปัสสาวะ

  19. (ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ)(ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ) 2.Cardiac arrhythmia

  20. Cardiac arrhythmia (ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ) • ความผิดปกติในอัตราการเต้นของหัวใจ ความสม่ำเสมอหรือตำแหน่งที่มีการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ • รบกวนการเต้นที่สอดคล้องกันตามปกติของหัวใจห้องบนและล่าง

  21. ภาวะปกติของการส่งสัญญาณไฟฟ้าหัวใจภาวะปกติของการส่งสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ • ควบคุมคุมโดย SA node (pace maker) • ทำให้เกิดการเต้นที่สอดคล้องกันของหัวใจ • สามารถวัดสัญญาณได้จาก ECG • การผิดปกติของ ECG สามารถบ่งบอกถึงโรคได้ และตำแหน่งที่เกิดพยาธิสภาพเบื้องต้นได้

  22. รูปแสดง normal impulse generation

  23. สาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะสาเหตุของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ • K+ imbalance • การได้รับยาบางชนิดเช่น digoxin, antiarrhythmic drugs • การผิดปกติของภาวะโรคหัวใจอื่นๆเช่น angina, CHF

  24. ประเภทของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะประเภทของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ • 1. ความผิดปกติของการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ (Disturbance of impulse generation) • 2. ความผิดปกติในการนำส่งสัญญาณไฟฟ้าหัวใจ (Disturbance of conduction) • AV block • Re-reentry

  25. พยาธิสรีรวิทยา (Pathophysiology) และการแบ่งชนิดของการเกิด arrhythmia • 1. supraventricular arrhythmia • 2. ventricular arrhythmia

  26. เกิดขึ้นในบริเวณของหัวใจที่อยู่เหนือ ventricle ซึ่งได้แก่ SA-node, AV-node, atrium 1. supraventricular arrhythmia • 1.1 supraventricular tachycardia • -เพิ่ม heart rate มากขึ้นประมาณ 150-250 ครั้ง/นาที • 1.2 atrial flutter • -heart rate สูงมากขึ้นประมาณ 250-350 ครั้ง/นาที • -atrial fibrillationคือภาวะ atrial flutter ที่เกิดรุนแรงมี heart rate 400-600 ครั้งต่อนาที

  27. 2. ventricular arrhythmia • เกิดการผิดปกติในการส่งสัญญาณที่ ventricle • ทำให้เกิดอันตรายได้มากกว่าชนิดแรก • 2.1 sustained ventricular tachycardia (VT) • เพิ่มอัตราการเต้นของ ventricle เป็น 150-250 ครั้ง/นาที • 2.2 ventricular fibrillation (VF) • เกิดจากการปล่อยสัญญาณไฟฟ้าหัวใจจาก ectopic foci หลายๆจุดใน ventricle • การบีบตัวของ ventricle เกิดขึ้นไม่ได้เลย • อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

  28. 2. ventricular arrhythmia (ต่อ) 2.3 ventricular premature beat (VPBs) • จังหวะการเต้นของหัวใจที่เกิดขึ้นก่อนเวลาอันควรในแต่ละวงจรของการเต้นของหัวใจ • หากมีอาการมากจะนำไปสู่การเกิด ventricular fibrillation 2.4Torsades de Points (TdP) • เกิด polymorphic ventricular tachycardia • มักเกิดจากการล่าช้าในการเกิด ventricular repolarization 2.5 Bradyarrhythmia • อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที

  29. อาการที่เกิดขึ้น • Palpitation • Irregular pulse • Dizziness/acute syncope • Fatigue • confusion • บางรายอาจไม่แสดงอาการ

  30. การวินิจฉัยและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ EKG, วินิจฉัยตามอาการ

  31. การรักษาเบื้องต้น (Initial Treatment) Airway & Breathing : O2 support, Definite airway Circulation : IV fluid (normal saline) พิจารณาการรักษาเบื้องต้นตาม ACLS guideline

  32. การรักษา(treatment) • 1.เครื่องมือปรับจังหวะการเต้นของหัวใจ • Autonomic implantable cardioconverter defibrillator (ICD) • Antitachycardia pacemaker • 2.ยากลุ่ม antiarrhythmic drugs • 3.การผ่าตัด

  33. 3. ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง Atherosclerosis

  34. Atherosclerosis • ภาวะที่หลอดเลือดแดงขาดความยืดหยุ่น • รบกวนการทำหน้าที่โดยปกติของหลอดเลือด

More Related