1 / 35

บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)

บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development). วงจรการพัฒนาระบบ. (System Development Life Cycle: SDLC). ระยะที่ 1 : การวางแผนโครงการ. ระยะที่ 2 : การวิเคราะห์. ระยะที่ 3 : การออกแบบ. ระยะที่ 4 : การนำไปใช้. ระยะที่ 5 : การบำรุงรักษา. วงจรการพัฒนาระบบ ( ต่อ ).

Download Presentation

บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)

  2. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ระยะที่ 1: การวางแผนโครงการ ระยะที่ 2: การวิเคราะห์ ระยะที่ 3: การออกแบบ ระยะที่ 4: การนำไปใช้ ระยะที่ 5: การบำรุงรักษา

  3. วงจรการพัฒนาระบบ (ต่อ) ขั้นตอนตามแบบแผนของ SDLC จะมีกรอบการทำงานที่เป็นโครงสร้างชัดเจน โดยมีลำดับกิจกรรมในแต่ละระยะที่เป็นลำดับแน่นอน

  4. วิธีการพัฒนาระบบ 1. การพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม 2. การพัฒนาระบบเชิงวัตถุ

  5. การพัฒนาระบบแบบดั้งเดิมการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม 1. การโปรแกรมเชิงโครงสร้าง (Structured Programming) 2. การออกแบบเชิงโครงสร้าง (Structured Design)

  6. การพัฒนาระบบเชิงวัตถุการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ 1. การวิเคราะห์ระบบเชิงวัตถุ (Object-Oriented Analysis : OOA) 2. การออกแบบระบบเชิงวัตถุ (Object-Oriented Design : OOD) 3. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming : OOP)

  7. วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) วิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อให้ซอฟต์แวร์มีมาตรฐาน และเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น

  8. กิจกรรมพื้นฐานของกระบวนการกิจกรรมพื้นฐานของกระบวนการ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 1. ข้อกำหนดซอฟต์แวร์ (Software Specification) 2. การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development) 3. การตรวจสอบความถูกต้อง (Software Validation) 4. วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ (Software Evolution)

  9. คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพคุณสมบัติของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ 1. มีความถูกต้อง (Correctness) 2. มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) 3. เป็นมิตรต่อผู้ใช้ (User Friendliness) 4. บำรุงรักษาง่าย (Maintainability)

  10. คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ (ต่อ) 5. นำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reusability) 6. มีความคงทน (Robustness) 7. มีประสิทธิภาพ (Efficiency) 8. สะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability) 9. มีความปลอดภัย (Security/Safety)

  11. สรุปได้ว่า วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือระเบียบแบบแผนเพื่อช่วยในการพัฒนา โดยมีแบบแผนที่ชัดเจน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา มีระบบการตรวจสอบ และมีการนำเครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาระบบมาใช้ เพื่อให้เกิดมาตรฐาน และนำไปสู่ซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ

  12. โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Process Models) จัดเป็นกรรมวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Methodology) ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสำเร็จ

  13. โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ (ต่อ) SDLC = Methodology ?

  14. โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ (ต่อ) โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ตามหลักวิศวกรรมซอฟต์แวร์ มักจะผนวกขั้นตอนหรือกระบวนการที่ทำงานในลักษณะ Iteration, Incremental และ Prototyping

  15. โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ 1. Build-and-Fix Model 2. Water Fall Model 3. Incremental Model 4. Spiral Model 5. Rapid Application Development (RAD) 6. Joint Application Development (JAD) 7. Rational Unified Process (RUP)

  16. Build and Fix Model พัฒนาแบบลองผิดลองถูกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งคิดว่าพอใจ หรือว่าคิดว่าตรงกับความต้องการแล้ว

  17. Water Fall Model หรือเรียกว่า โมเดลน้ำตก มีความคล้ายคลึงกับ SDLC แต่เพิ่มคุณสมบัติแบบ Iteration

  18. Incremental Model เป็นโมเดลที่นำ Water Fall Model มาปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  19. Incremental Model (ต่อ) เพิ่มคุณสมบัติแบบ Incremental เข้าไป โดยแต่ละรอบจะมีการทวนซ้ำ พร้อมระบบการตรวจสอบ

  20. Incremental Model (ต่อ) Verification คือตรวจสอบความถูกต้องตามข้อกำหนด (Specification) Validation คือการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ว่าตรงความต้องการของผู้ใช้งานหรือไม่

  21. Spiral Model มีหลักการทำงานในลักษณะรอบวงกลม โดยวนจากวงในสู่วงนอก

  22. Rapid Application Development (RAD) เป็นการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบรวดเร็ว มีทีมงานขนาดเล็กที่มีความเชี่ยวชาญสูง

  23. Joint Application Development (JAD) มีห้องปฏิบัติการที่ใช้เป็นศูนย์การทำงาน เน้น การประชุม Workshop ทีมงานตระหนักในหน้าที่ และพร้อมที่จะทำงานหนัก

  24. Ration Unified Process (RUP) เป็นกรรมวิธีการพัฒนา S/W เชิงวัตถุ พื้นฐานสำคัญคือการสร้างโมเดล และการจัดการด้วยภาษา UML

  25. เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาระบบเครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาระบบ CASE Toolsเป็นเครื่องมือที่นำมาใช้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ ซึ่งจะช่วยให้การพัฒนาระบบมีความรวดเร็ว มีมาตรฐาน และคุณภาพดียิ่งขึ้น

  26. ประเภทของ CASE Tools 1. Upper CASE Tools เป็นเครื่องมือสนับสนุนการวิเคราะห์และออกแบบจำลอง (Model) 2. Lower CASE Tools เป็นเครื่องสนับสนุนการ Implement เช่น การ Generate แบบจำลองที่สร้างขึ้นมาเป็นโค้ด

  27. Upper CASE Tools

  28. Lower CASE Tools

  29. Drawing Tools

  30. ระยะที่ 1 การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase)

More Related