1 / 17

การสรุปผลการดำเนินงาน โครงการเบาหวาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2551

การสรุปผลการดำเนินงาน โครงการเบาหวาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2551. สภาพปัญหาเดิม. 1. ผู้ป่วยส่วนมากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 2. มีผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี 3.พบภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มมากขึ้นทั้งทาง ไต ตา และเท้า. ข้อมูลสภาพปัญหา.

Download Presentation

การสรุปผลการดำเนินงาน โครงการเบาหวาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสรุปผลการดำเนินงานโครงการเบาหวานอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2551

  2. สภาพปัญหาเดิม • 1. ผู้ป่วยส่วนมากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ • 2. มีผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี • 3.พบภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มมากขึ้นทั้งทาง ไต ตา และเท้า

  3. ข้อมูลสภาพปัญหา

  4. ข้อมูลจำนวนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 51(จากการคัดกรองฯ) • อำเภอยางตลาด มีจำนวน 15 ตำบล มีประชากรทั้งสิ้น 126,525 คน • จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้น 58,242 คน • ผลการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป - คัดกรองได้ทั้งสิ้น 52,466 คน คิดเป็นร้อยละ 90.08 -มีจำนวนผู้ที่มีความเสี่ยงน้อย-ปานกลาง 4,084 คน(ร้อยละ 7.78) -มีจำนวนผู้ที่มีเสี่ยงสูง 316 คน (ร้อยละ 0.54 )

  5. การดำเนินการเดิม • มีการคัดกรองผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 40 ปีขึ้นไป ร้อยละ 75 • ออกติดตามเยี่ยมบ้านสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั่วไป

  6. การดำเนินการใหม่ในปี 51 • 1. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 70 • 2.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูงร้อยละ80 • 3.ออกติดตามประเมินผลกลุ่มที่ผ่านการอบรมที่มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ร้อยละ 20 • 4. ในตำบลต้นแบบลดโรคเบาหวาน( ม.10 ต. อิตื้อ) เพิ่มกิจกรรมตามโครงการสร้างสุขภาพแบบทางเลือก

  7. ผลการดำเนินงานในพื้นที่ทั่วไปผลการดำเนินงานในพื้นที่ทั่วไป • -ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน (ดำเนินการแล้ว) • -คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงสูงเข้าอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ80โดยใช้หลัก 5 อ. (ดำเนินการแล้ว) • -ประเมินพฤติกรรมผู้ผ่านการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถปรับเปลี่ยนได้ร้อยละ 20 (ผลการประเมินยังไม่เห็นผลชัดเจนต้องรอเวลาต่อเนื่องอีกสักระยะหนึ่ง)

  8. ในพื้นที่ตำบลต้นแบบลดโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลต้นแบบลดโรคเบาหวาน • -มีการดำเนินการเหมือนพื้นที่ทั่วไปทุกกิจกรรม • แต่มีการต่อยอดดังนี้ • 1. มีภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน(โดยมีวิทยากรจาก วสส.ขอนแก่น) 1.1 ทางร่างกาย เป็นการผสมผสานพฤติกรรมการกินธัญพืช/ น้ำผักที่หาได้ง่ายในชุมชนเช่นใบย่านาง/ใบบัวบก/ใบกระติบข้าวเพื่อช่วยในการลดระดับน้ำตาลในเลือด การขับสารพิษของร่างกายโดยใช้โยเกิตย์+น้ำผึ้ง+น้ำมะนาว (ตามสูตร)

  9. ต่อยอด.. • 1.2 ทางจิตใจ เสริมวิธีการบริหารทางจิตโดยใช้วิธีทำสมาธิ,โยคะเพื่อลดความเครียดและลดระดับน้ำตาลในเลือด(วิทยากรวสส. ขอนแก่นและได้รับความเมตตาจากพระครูปลัดเดชา อาสโภ จากวัดสวนป่าดอนยานาง ต.ดอนสมบูรณ์ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์) • 2.มีการตั้งกลุ่มเบาหวาน เพื่อเชื่อมประสานการพัฒนาสุขภาพกับเครือข่ายอื่นในชุมชนเช่น อสม/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยพิการเพื่อจัดการสุขภาพในพื้นที่ • 3. มีการกำหนดกิจกรรมและเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม คือในทุกวันพระโดยใช้สถานที่คือวัดบ้านแก ตำบลอิตื้อ

  10. การวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานการวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน • จุดแข็ง • -มีนโยบายชัดเจน ผู้บริหารเห็นความสำคัญ/สนับสนุน • มีงบประมาณเพียงพอ • จนท.มีองค์ความรู้ในเรื่องเบาหวาน • มีทีมสหวิชาชีพ,จนท.เวชปฎิบัติ,และทีมที่ปรึกษา • มีกลุ่ม/ชมรม/เครือข่าย เบาหวานทุกตำบล • ชุมชนองค์กรท้องถิ่นมีความพร้อมในการสนับสนุนการดำเนินงาน • มีภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพร

  11. การวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานการวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน • โอกาสในการพัฒนา -จนท. ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พยาบาลวิชาชีพยังขาดองค์ความรู้และทักษะในการติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้านและการให้คำปรึกษา -ชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลและสนับสนุนช่วยเหลือในด้านสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณด้านการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน -พัฒนาระบบข้อมูลให้มีความเชื่อมโยงทุกภาคส่วน

  12. การวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานการวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงาน • พัฒนาศักยภาพกลุ่ม/ชมรม/เครือข่ายเบาหวานเพื่อนำการเปลี่ยนแปลงและแก้ไขปัญหาสุขภาพร่วมกับเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน(อสม.) • จัดเวทีสะท้อนข้อมูลกลับคืนสู้ชุมชนเพื่อแก้ไขและพัฒนาสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน • สอ. ปรับปรุงและพัฒนาระบบบริการเชิงรุก (เยี่ยมบ้านปกติ,เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรัง)ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานมากยิ่งขึ้น

  13. สรุปผลการดำเนินงาน • 1. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานในหมู่ที่10 ต.อิตื้อ (ตำบลต้นแบบลดโรค) จำนวน 10 คน หลังดำเนินการได้ติดตาม จำนวน 4 ครั้ง(เดือนละ 1 ครั้ง) พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที่ได้ • 2.กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 256 คน กลุ่มเสี่ยงจำนวน 30 คนมีความรู้ความเข้าใจในการปฎิบัติตัวตามวิถีชีวิตชาวบ้านและไม่มีผู้ป่วยใหม่เกิดขึ้น • 3. กลุ่มผู้ป่วยทั้ง 10 คน ไม่มีภาวะแทรกซ้อน • 4 .กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยเบาหวาน สามารถถ่ายทอดความรู้พร้อมทักษะในการปฎิบัติตัวสู่ญาติ, ผู้ป่วยเบาหวานด้วยกัน,เพื่อนบ้านทั้งในและนอกชุมชนได้เป็นอย่างดี

  14. ข้อเสนอแนะ • ข้อเสนอแนะ • 1. ขยายกิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบลดโรคเบาหวานสู่ตำบลอื่นในอำเภอยางตลาดทุกตำบล • 2. สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมให้พียงพอ • 3. ขยายภาคี เครือข่ายให้เห็นความสำคัญของปัญหาเบาหวานและสนับสนุนงบประมาณ • 4. พัฒนาระบบสุขภาพให้ต่อเนื่องสู่ความยั่งยืน

  15. ภาคผนวก

  16. การดำเนินงานของตำบลต้นแบบการดำเนินงานของตำบลต้นแบบ ลดโรคเบาหวาน หมู่ที่ 10 ต.อิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

More Related