150 likes | 243 Views
โครงการเสริมพลังทางสังคม และการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ปี 2556. โดย กลุ่มการส่งเสริมและประสานเครือข่าย สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. วัตถุประสงค์ของโครงการ.
E N D
โครงการเสริมพลังทางสังคมและการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ปี 2556 โดย กลุ่มการส่งเสริมและประสานเครือข่าย สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการการพัฒนาสังคมแบบมีส่วนร่วมและยกระดับบริหารจัดการเครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทุกประเภทและเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมให้มี ความเป็นเอกภาพทั้งในระดับกระทรวงและระดับจังหวัด • เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์และเครือข่ายการพัฒนาสังคมทั้งที่กระทรวงฯจัดตั้งขึ้นและเครือข่ายอื่นๆมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาสังคมระดับจังหวัดและในพื้นที่ตำบลต้นแบบเพื่อมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนาสังคม • เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการขยายผลการดำเนินงานของเครือข่ายจิตอาสาและการเป็นอาสาสมัครในสถานศึกษา และพื้นที่ชุมชน ท้องถิ่น ทั่วประเทศ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ภารกิจระดับกระทรวง • แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานเพื่อบูรณาการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ระดับกระทรวง • การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านอาสาสมัครและจิตอาสาในสังคมไทย ภายใต้บริบทของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (วันที่ 5-8 ก.พ.2556 ณ โรงแรมเฟิสท์ กรุงเทพฯ) • ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2556
การดำเนินงานระดับจังหวัดการดำเนินงานระดับจังหวัด • การเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน (ตัวอย่างเอกสาร 1 :ร่างโครงการจังหวัด) • วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณอย่างเป็นระบบ (งาน อพม.,งานโครงการคนไทยใจอาสา,งานศูนย์การให้ฯ/งานศูนย์ประสานงานองค์กรภาคเอกชน งานเครือข่ายอื่นๆและงานกองทุนฯ) • อพม. : 1.งบค่าตอบแทน(เบี้ยแบ่งเบาภาระ : ค่าสำรวจสถานการณ์/ ค่าเดินทาง/ค่าจัดประชุมในชุมชน) 2.งบสำรวจข้อมูล อพม./เครือข่ายการพัฒนาสังคม : (จัดทำแบบสำรวจ, จัดเก็บ, ประมวลผลใน BACK OFFICE, จัดทำ CD สารสนเทศเผยแพร่ภาคีที่เกี่ยวข้อง) 3.งบพัฒนาศักยภาพ (ประชุมคณะกรรมการ/ชมรม/สมาคม อพม. ระดับต่างๆ,งบอบรม/สัมมนา,การจัดกิจกรรมพัฒนาสังคมในตำบล ต้นแบบ 5 ตำบล,กิจกรรมอื่นๆ)
เอกสาร ๒ แผนการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖ จังหวัด..................................................................................................
โครงการคนไทยใจอาสา :ขยายผลตำบลการดำเนินงานด้านจิตอาสาในสถานศึกษาร่วมกับชุมชน ในพื้นที่ตำบลต้นแบบ/ตำบลที่มีความพร้อม จังหวัดละ 100,000 บาท (10 สถานศึกษา 20 เครือข่าย : เครือข่ายเด็กและเยาวชนในสถานศึกษาและชุมชนโครงการละ 2 เครือข่าย) • โครงการศูนย์การให้/ศูนย์ประสานงานองค์กรภาคเอกชน : ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมบูรณาการคณะอนุกรรมการ/คณะทำงานบูรณาการระดับจังหวัด
การคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการการคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ ตำบลต้นแบบ ได้แก่ ตำบลต้นแบบพื้นที่ใหม่ปี 2556 หรือตำบลต้นแบบพื้นที่เดิมปี 2555 หรือตำบลแบบขยาย • โครงการ อพม. : อย่างน้อย 5 ตำบลต้นแบบ • โครงการคนไทยใจอาสา : 10 สถานศึกษาในพื้นที่ตำบลต้อนแบบ 5 ตำบล หรือ ตำบลอื่นๆที่มีความพร้อม
การกำหนดกลไกการขับเคลื่อนงานเชิงบูรณาการการกำหนดกลไกการขับเคลื่อนงานเชิงบูรณาการ แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน ระดับจังหวัดและระดับตำบล หรือ กลไกอื่นที่มีโครงสร้างเทียบเคียงกับที่ พม.กำหนดเพื่อทำหน้าที่เป็นกลไกในการ"บูรณาการการบริหารจัดการเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมระดับจังหวัดและระดับตำบล” (เอกสาร 6)
การขับเคลื่อนกลไก "บูรณาการการบริหาร จัดการเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมระดับ จังหวัดและระดับตำบล" ระดับจังหวัด ประชุมครั้งที่ 1 : • วิเคราะห์นโยบายรัฐบาล/ยุทธศาสตร์ พม./ยุทธศาสตร์จังหวัด/สถานการณ์ ทางสังคมของจังหวัด เพื่อกำหนดสาระด้านการพัฒนาสังคมระดับจังหวัด (ใช้งบศูนย์การให้ฯในการจัดประชุม) ระดับตำบล ประชุมครั้งที่ 1 (อาจเป็นการประชุมร่วมกับตำบลต้นแบบ หรือใช้งบ อพม.จัดประชุมในชุมชน) • วิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคม นำวาระจังหวัดมาร่วมพิจารณาให้สอดคล้องกับพื้นที่ จัดทำแผนการดำเนินงานร่วมระดับตำบลของภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น ศพค. สภาเด็ก สตรี คนพิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น • อพม.เสนอโครงการด้านการพัฒนาสังคมเข้าร่วมในแผนระดับตำบลตามกรอบวงเงินที่ระดับจังหวัดกำหนด • สถานศึกษา เสนอโครงการคนไทยใจอาสาร่เข้าร่วมในแผนระดับตำบลตามกรอบวงเงินที่ระดับจังหวัดกำหนด (ถ้ามีในพื้นที่ตำบลนั้นๆ)
ระดับจังหวัด • สนง.พมจ.กลั่นกรองโครงการตามวาระจังหวัดเสนออนุมัติตามขั้นตอนทางราชการ และให้คำแนะนำการเขียนโครงการของ อพม./สถานศึกษา/เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดในโครงการควรมุ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามตัวชี้วัด ที่กำหนดในโครงการ • จัดประชุมคณะอนุกรรมการ/กลไกระดับจังหวัดครั้งที่ 2 : จัดทำแผนการบูรณาการฯระดับจังหวัด และกำหนดแนวทางในการติดตามประเมินผลโครงการ (ใช้งบ ศูนย์การให้ฯ) • จังหวัดติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ เพื่อพิจารณาคัดเลือกโครงการนวัตกรรมด้านการพัฒนาสังคม จังหวัดละ 1 โครงการ (ใช้งบ ศูนย์การให้ฯ) และรายงาน สมพ.ทราบ เพื่อจัดเวทีคัดเลือกโครงการดีเด่นระดับภาค ระดับตำบล • ดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ และจัดทำรายงานที่แสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามตัวชี้วัดที่มุ่งให้เกิดตามที่กำหนดในโครงการ
การสรุปผลการดำเนินงานการสรุปผลการดำเนินงาน การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตลอดจนรายงานผลการวัด การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเชิงสร้างสรรค์ตามที่แผนกำหนด หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามแผนงานที่กำหนด หมายถึง การ กำหนดตัวชี้วัดทางสังคมซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคม ที่นำมาเป็นประเด็น/เป้าหมายในการจัดทำแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่ต้องการเห็นหรือสามารถบรรลุได้จริงหลังจาก ดำเนินการตามโครงการซึ่งนำไปสู่และหรือส่งผลทางตรง หรือทางอ้อมต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในทางที่สร้างสรรค์ ตามกรอบแนวทางที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์กำหนด
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม/ปรึกษางานติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม/ปรึกษางาน • งานโครงการคนไทยใจอาสา/งาน อพม. 76 จังหวัด 1. นางณัฐสุรีย์ อนุศาสนัน : เบอร์ 0 2306 8954 /089-449-5359 2. นายไชยชาญ ชื่นชีพ : เบอร์ 0 2306 8733/081-721-6197 • งาน อพม. กทม. : นางจิราพรรณ นพวงศ์ เบอร์ 02-306-8733/087-059-4665 • งานระบบฐานข้อมูล อพม./เครือข่าย และ การติดตามรายงานผลรายไตรมาส e-mail : gm_network@hotmail.com 1. น.ส.นัทภรณ์ บุญณรงค์ไพศาล 2. น.ส.นิตติยา 2. น.ส.วนิดา ภูเลื่อนลม เบอร์
ข้อเสนอแนะ เงินค่าตอบแทน : เดิมต้องการมีกลไกในการเฝ้าระวังทางสังคม เป็นค่าแบ่งเบาภาระในการประสานงานของ พมจ. และส่งเสริมให้ อพม. มีส่วนรวมในการผลักดันสู่การผลักดันแผน -ควรทำความตกลงกับกระทรวงการคลังใหม่ เพราะเวลาผ่านมาเป็นเวลา เป็นเวลา ๑๐ ปี แล้ว จ.กาญจนบุรี : ผ่านการอบรมแล้ว มีบัตร แต่ไม่มีคำสั่งแต่งตั้ง มีคุณสมบัติหรือไม่ จ.นครราชสีมา : การลงนามในบัตร อพม.โดยใคร จ.อุบล: อำนาจลงนามในบัตรมีหนังสือเวียนให้ ผวจ.ลงนามได้/ผวจ.มอบอำนาจให้ พมจ.ได้ จ.ชุมพร : มีเราแค่คนหนึ่งดูแลเราดีหรือยังที่จะไปเพิ่มอีก ๕ กระทรวงฯทอดทิ้ง อพม.เมื่อเปรียบเทียบกับ อสม. -ส่วนกลางยังไม่บูรณาการ -มีใจหรือไม่
จ.ชุมพร : ควรมีการจัดเสวนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการมากกว่าการประชุมแล้วเลิกไป จ.ลำพูน : อพม.ไม่มีอะไรที่ชัดเจน กระทรวงมีแบบแผนที่ชัดเจนหรือไม่ กรณี อสม.มีระบบการรายงานที่ชัดเจน ค่าตอบแทน/ค่าสำรวจข้อมูลหน้าละ ๕ บาททำได้แต่จะยอมรับขนาดไหน อสม.มีงบประมาณตำบลละ ๑๐,๐๐๐ บาท แต่ อพม.ไม่มี