1 / 10

ทำงานกับสี ( Color)

ทำงานกับสี ( Color). ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายก ฤษ ชนะ สิงคาร. ทำงานกับสี ( Color). วัตถุใน Flash จะประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อยๆ 2 ส่วน ได้แก่ พื้นของวัตถุ (Background หรือ Fill) และเส้นขอบวัตถุ ( Stroke ). Stroke Color. Fill Color.

rafal
Download Presentation

ทำงานกับสี ( Color)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทำงานกับสี (Color) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร

  2. ทำงานกับสี (Color) วัตถุใน Flash จะประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อยๆ 2 ส่วน ได้แก่ พื้นของวัตถุ(Background หรือ Fill) และเส้นขอบวัตถุ (Stroke) Stroke Color Fill Color รายละเอียดเกี่ยวกับส่วนควบคุมสีใน Toolbox Stroke Color สีเส้น • Default Color • คืนค่าสีสู่ค่าเดิม คือดำ, ขาว Fill Color สีพื้นของวัตถุ, สี Swap Color การสลับสี

  3. การเพิ่มสี การเพิ่มรายการสี สามารถทำได้โดยคลิกที่เครื่องมือเลือกสี (จะเป็นFill หรือ Stroke) ก็ได้แล้วคลิกที่ปุ่ม Color Picker ซึ่งปรากฏที่มุมบนขวาของจอภาพแสดงค่าสี 1 คลิกที่ปุ่ม Color Picker

  4. การเพิ่มสี(ต่อ) 2 ปรากฏจอภาพผสมสีใหม่ 3 คลิกในช่อง Custom colors 4 ผสมสีตามต้องการ 5 คลิกปุ่ม Add to Custom Colors

  5. แผงควบคุมสี (Color Panel) Color Panel เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานเกี่ยวกับสี โดยเฉพาะในส่วนที่เป็นการไล่โทนสี (Gradient) เนื่องจากการสร้างชุดสีการไล่โทน ไม่สามารถทำได้จากส่วนควบคุมสีปกติ Flash เตรียม Panel เกี่ยวกับสีไว้ 2 ชุดคือ • Swatches ซึ่งมีการทำงาน/ ใช้งานลักษณะเดียวกับ Toolbox

  6. แผงควบคุมสี (Color Panel) (ต่อ) • Color มีส่วนเพิ่มเติมการใช้สีมากกว่าปกติ เช่น การทำสีแบบไล่โทนลักษณะต่างๆ,การใช้ภาพกราฟิกมาเป็นพื้นของกราฟิก (Texture) รวมทั้งการปรับค่าความโปร่งใสของสี (Alpha)

  7. แผงควบคุมสี (Color Panel) (ต่อ) ชุดสีแบบไล่โทน • คลิกเลือกรายการ Fill Type เป็น Linear (ไล่โทนในแนวระนาบ) หรือ Radial (ไล่โทนในแนวรัศมี) Linear Radial

  8. แผงควบคุมสี (Color Panel) (ต่อ) ชุดสีแบบไล่โทน • นำเมาส์ไปคลิกใต้ Gradient definition bar จะปรากฏ Gradient Pointer กำหนดจำนวน Gradient Pointer ตามต้องการ • ถ้าต้องการลบ Gradient Pointer ให้นำเมาส์ไปชี้ ณ Gradient Pointer ที่ต้องการลบ แล้วลากออกจาก Gradient definition bar • กำหนดสีให้กับ Gradient Pointer โดยคลิกที่ Gradient Pointer ชิ้นที่ต้องการ จากนั้นคลิกเลือกสีจาก Current Color ทำซ้ำกับ Gradient Pointer ตำแหน่งอื่น

  9. แผงควบคุมสี (Color Panel) (ต่อ) ชุดสีแบบไล่โทน • สามารถเลื่อนปรับตำแหน่งของ Gradient Pointer โดยใช้หลัก Drag & Drop • คลิกปุ่ม Color Mixer Option Menu แล้วเลือกคำสั่ง Add Swatch เพื่อเพิ่มสี ที่กำหนดให้กับโปรแกรม

  10. แบบฝึกทักษะ คำชี้แจง จงใช้เครื่องมือการจัดการเกี่ยวกับสีในโปรแกรม Flash CS3 ใน การปฏิบัติตามคำสั่ง ดังนี้ 1. สร้างรูปสี่เหลี่ยม 3 รูป 2. สี่เหลี่ยมรูปที่ 1 ให้ลงสีเส้นเป็นสีแดง สีพื้นหลังเป็นสีเหลือง 3. สี่เหลี่ยมรูปที่ 2 ให้ไล่สีพื้นหลังเป็นแบบแนวนอน จากสีเขียวไปสีเหลือง 4. สี่เหลี่ยมรูปที่ 3 ให้ไล่สีพื้นหลังเป็นแบบวงกลม โดยให้กำหนดสีแรก เป็นสีน้ำเงินสีที่สองเป็นสีม่วง

More Related