1 / 29

แผนการสืบค้นข้อมูลจาก “ภาวะโรคร่วมทางจิตà¹

แผนการสืบค้นข้อมูลจาก “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช Co-morbidity ”. กลุ่ม 6 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 21 ห้อง B. วิธีการสืบค้นข้อมูลโดย ebscohost. เข้าสู่เว็บไซต์เริ่มต้นเพื่อค้นหาข้อมูลต่างๆ จาก Search engine โดยเลือก Google.

peta
Download Presentation

แผนการสืบค้นข้อมูลจาก “ภาวะโรคร่วมทางจิตà¹

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการสืบค้นข้อมูลจาก“ภาวะโรคร่วมทางจิตเวชCo-morbidity”แผนการสืบค้นข้อมูลจาก“ภาวะโรคร่วมทางจิตเวชCo-morbidity” กลุ่ม 6 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 21 ห้อง B

  2. วิธีการสืบค้นข้อมูลโดยebscohostวิธีการสืบค้นข้อมูลโดยebscohost

  3. เข้าสู่เว็บไซต์เริ่มต้นเพื่อค้นหาข้อมูลต่างๆ จาก Search engine โดยเลือก Google

  4. เข้าสู่ Google translate เพื่อแปลภาษาไทยของคำว่า “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช” เพื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษ ในการสืบค้นข้อมูลใน ebscohost

  5. เข้าสู่ www.bcnu.ac.thเลือก ebscohostจากระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ

  6. เลือก URL: search.ebscohost.com ตามลูกศร

  7. bcnu nurse ใส่ User ID : bcnu และ Password : nurse ตามลูกศร แล้ว Login

  8. เลือก Ebscohost Research Databases ตามที่ลูกศรชี้

  9. กำหนดคำค้นหา โดยแบ่งคำเป็นส่วนๆ ให้มีความหมายที่สอดคล้องกับคำว่า “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช ” ในที่นี้จะแยกเป็นคำว่า co-morbid และคำว่า psychiatric และคำว่า conditions จากนั้น click ที่คำว่า search เพื่อค้นหาข้อมูล

  10. มีวิจัยที่สอดคล้องกับคำที่ค้นหา ทั้งหมด 45 เรื่อง

  11. การค้นหาข้อมูล กรณีใช้คำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน (synonym) เพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายและครอบคลุม เช่น comorbidityที่มีความหมายว่า ภาวะโรคร่วม เช่นเดียวกับ co-morbid conditions และสามารถใช้คำอื่นแทน เช่น คำว่า cooccurringหรือคำว่า coordinate

  12. เลือกเรื่องที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับคำค้นหา “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช” จากนั้น click ที่รูป folder ด้านขวามือ เพื่อบันทึกเรื่องที่เราต้องการไว้ เปรียบเหมือนเป็นการเก็บงานวิจัยเรื่องนั้นๆไว้ในกระเป๋าของเรา เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้ว ให้ click ที่รูป folder ด้านบน เพื่อเรียกดูวิจัยที่เราได้เลือกไว้ ตามหมายเลขที่เขียนกำกับไว้ 3 2 1

  13. เมื่อเราได้เรื่องที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช” เราสามารถส่งงานวิจัยเข้า E-mail เพื่ออ่านในภายหลังได้ ในกรณีที่ไม่สะดวกโดยส่งเข้า E-mail ตามที่ลูกศรชี้ ( กรณีที่ 1 )

  14. กรอกรายละเอียดตามที่กำหนดให้ดังในตาราง แล้วคลิก “Send” ตามลูกศรชี้

  15. คลิก “Continue” เพื่อเป็นการยืนยันการส่ง E-mail

  16. เมื่อเราได้เรื่องที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช” เราสามารถ บันทึก file เพื่อนำไปใช้งานได้ทันที โดย click ที่ Save as File (กรณีที่ 2)

  17. ทำการบันทึก file โดยclick ที่ คำว่า Save

  18. เมื่อเราได้เรื่องที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ “ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช” เราสามารถ สั่งพิมพ์เอกสารงานวิจัยออกมาใช้งานได้ทันที โดย click ที่คำว่า Print (กรณีที่ 3)

  19. Click ที่คำว่า Print เพื่อสั่งพิมพ์งานวิจัย

  20. เมื่อสั่งพิมพ์เอกสารงานวิจัยที่สืบค้นได้ จะปรากฏตัวอย่างดังกล่าวนี้ และ click ที่คำว่า print เพื่อนำเอกสารงานวิจัยนี้ไปใช้งานถือว่าเป็นการสิ้นสุดการสืบค้นข้อมูล

  21. ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช (psychiatric comorbidity)เป็นคำที่ใช้ทั่วไปในทางการแพทย์ หมายถึง การมีอาการของโรคเกิดขึ้นร่วมกันหรือการมีโรคเกิดขึ้นร่วมกัน มี 2 ประเภท ดังนี้

  22. ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช 1.โรคจิตเวชร่วมในกลุ่มวินิจฉัยโรคเดียวกัน (homotypiccomorbidity) เช่น การติดสารเสพติดสองชนิดทั้งเสพกัญชาและดื่มสุรา หรือ กลุ่มโรควิตกกังวลที่มีทั้ง panic disorder (โรคตื่นตระหนก)และ agoraphobia (โรคกลัวที่ชุมชน)

  23. ภาวะโรคร่วมทางจิตเวช 2.โรคจิตเวชร่วมต่างกลุ่มวินิจฉัยโรค (heterotypic comorbidity) เช่น การติดสารเสพติดและโรควิตกกังวล เป็นต้น

  24. บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการฟื้นสภาพจิตใจสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการฟื้นสภาพจิตใจสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเวช พยาบาล มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือผู้ป่วยให้มีการฟื้นสภาพจิตใจ พยาบาลควรเข้าใจแนวคิดการฟื้นสภาพจิตใจ รับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการตลอดจนเชื่อในศักยภาพว่าผู้ป่วยจะสามารถฟื้นฟูสภาพจิตใจได้ แม้จะเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด และต้องเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องก็ตาม ส่งเสริมผู้ป่วยให้มีการฟื้นสภาพจิตใจ ช่วยให้ผู้ป่วยมีความหวังที่จะต่อสู้กับภาวะการเจ็บป่วย

  25. บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการฟื้นสภาพจิตใจสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเวช (ต่อ) และส่งเสริมให้รู้จักรับผิดชอบดูแลตนเอง เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี จัดระบบการให้บริการสุขภาพจิตให้ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง และจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการฟื้นสภาพจิตใจ ซึ่งการทำลักษณะดังกล่าว จะทำให้พยาบาลมีอิสระในการทำงานภายใต้ความรู้ความสามารถของตนเอง

  26. การนำไปประยุกต์ใช้ ในบทบาทของพยาบาล จำเป็นที่จะต้องรู้จักและเข้าใจเกี่ยวกับโรคร่วมทางจิตเวช โดยผู้ป่วยหนึ่งคนสามารถมีอาการของโรคร่วมทางจิตเวชได้มากกว่า 1 อาการ เพื่อเป็นฐานหรือแนวทางในการดูแลและให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วยจิตเวชได้ตรงตามปัญหาและความต้องการ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม

  27. อ้างอิง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2556). ระบาดวิทยาโรคจิตเวชร่วม ในคนไทยการศึกษาระดับชาติ 2551. วารสารสุขภาพจิตแห่ง ประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2. สืบค้นวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2557 จาก http://thailand.digitaljournals.org กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2556). โรคร่วมจิตเวชของผู้ป่วยในจิต เวชที่มีปัญหาการดื่มสุรา. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2สืบค้นวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2557 จาก http://thailand.digitaljournals.org

  28. สมาชิกผู้จัดทำ • นางสาวภาณุกา คำมีคร เลขที่ 1 • นายภูชิต อินสมบัติ เลขที่ 3 • นางสาวรสสุคนธ์ กล่อมสาร เลขที่ 16 • นางสาวรัชนีภรณ์โสธรรมมงคล เลขที่ 18 • นางสาววรัญญา กันหา เลขที่ 31 • นางสาววราภรณ์ ลามี เลขที่ 35 • นางสาววิภาวรรณ แก่งจำปา เลขที่ 39 • นายวีรยุทธสิมนา เลขที่ 42 • นายสันติ เห็มทอง เลขที่ 56 • นางสาวอรอนงค์ บุตรชัยงาม เลขที่ 100 • นางสาวอลิสา กันหาวงค์ เลขที่ 101 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่น 21 Class B

  29.  T h a n k y o u ขอบคุณค่ะ 

More Related