1 / 33

วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior)

วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior). เนื้อหา 1) ความหมาย 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพล 3) พฤติกรรมทางเพศ - เพศผู้ - เพศเมีย. Puberty.

Download Presentation

วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ(Puberty & Sexual Behavior) เนื้อหา 1) ความหมาย 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพล 3) พฤติกรรมทางเพศ - เพศผู้ - เพศเมีย

  2. Puberty • ระยะหรืออายุที่สัตว์มีพัฒนาการด้านต่างๆ ทางสรีรวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการสร้างเซลล์สืบพันธุ์และแสดงพฤติกรรมด้านการสืบพันธุ์อย่างสมบูรณ์ • ลำดับของพัฒนาการ Embryo Fetus Baby animal Young animal Mature animal

  3. สิ่งที่พิจารณาในการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์สิ่งที่พิจารณาในการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ Secondary sex characteristics • ลักษณะภายนอก • การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาภายใน 1) เพศผู้ Testis, Penis, Accessory gland, Endocrine gland 2) เพศเมีย Ovary, Mammary organ, Endocrine gland, Estrus cycle

  4. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ 1) Genetics 2) Environment - Species - Breed - Sex 3) Management - Nutrition - Health status - Housing

  5. อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์อายุเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ Male อายุ (เดือน) Female อายุ (เดือน) Bull 10-18Heifer 8-18 Ram 8-12Ewe 6-12 Boar 6-8Gilt 5-8 Stallion 12-22Filly 10-24 Dog 5-12Bitch 7-15 Tomcat 6-10Cat 7-15

  6. Hormone & Puberty • ชนิดของฮอร์โมน • กลไกการทำงานของฮอร์โมน - Hypothalamic-hypophysial axis - Pituitary-ganad axis (Adenohypophyseal-gonad axis)

  7. Female Sexual Behavior • วงรอบการเป็นสัด (Estrus cycle) แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามมุมมองหรือการพิจารณา 1) แบ่งตามการปรากฏในรอบปี 2) แบ่งตามพฤติกรรมการตกไข่ 3) แบ่งตามช่วงต่างๆ ในวงรอบการเป็นสัด

  8. การแบ่งวงรอบการเป็นสัดที่ปรากฏในรอบปีการแบ่งวงรอบการเป็นสัดที่ปรากฏในรอบปี 1) Seasonal monoestrus: กวาง roe สุนัขจิ้งจอก 2) Seasonal polyestrus: ม้า แพะ 3) Polyestrus: สุกร โค Primate การแบ่งตามพฤติกรรมการตกไข่ 1) Induce ovulators 2) Spontaneous ovulators

  9. การแบ่งตามช่วงต่างๆ ของวงรอบการเป็นสัด 1) แบ่งตามสภาวะการควบคุมโดยเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมน: Follicular phase และ Luteal phase 2) แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏในวงรอบการเป็นสัด โค แพะ แกะ สุกร 2.1) Proestrus 3-4 2-3 2-3 3-4 วัน 2.2) Estrus 12-18 30-40 24-36 48-72 ชม. 2.3) Metestrus 3-4 2-3 2-3 2-3 วัน 2.4) Diestrus 10-14 13-15 10-12 11-13 วัน 2.5) Anestrus

  10. พฤติกรรมการเป็นสัด (heat) • อยู่ภายใต้อิทธิพลของฮอร์โมน ระบบประสาท อายุ และฤดูกาล • ลักษณะการแสดงออกของพฤติกรรม - ยอมรับการขึ้นทับ - การเสาะหาตัวผู้ - กินอาหารน้อยลง - มีเมือกไหลจากช่องคลอด - บริเวณส่วนนอกของช่องคลอดบวมแดง - ตื่นตกใจง่าย

  11. Follicular wave

  12. ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(1)ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(1) • สุกร : Polyestrus, estrus cycle 21 วัน 1) อวัยวะเพศบวมแดง (ชัดเจนใน Gilt) 2) ยอมรับการขึ้นทับของตัวอื่น 3) กดหลังจะยืนนิ่ง 4) มีเมือกเล็กน้อย 5) สนใจสิ่งแวดล้อมมากกว่าปกติ 6) ส่งเสียงร้อง

  13. ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(2)ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมการเป็นสัดของสัตว์แต่ละชนิด(2) • โค : Polyestrus, estrus cycle 21 วัน 1) อวัยวะเพศบวมแดง ? 2) ยอมรับการขึ้นทับของตัวอื่น 3) กดหลังและสะโพกจะยืนนิ่ง 4) มีเมือกไหลในช่วงเวลานาน 5) ตื่นตกใจง่าย 6) ส่งเสียงร้อง

  14. ฮอร์โมนที่ควบคุมวงรอบการเป็นสัดฮอร์โมนที่ควบคุมวงรอบการเป็นสัด • GnRH • Gonadotropins • Estrogen • Progesterone • PGF2 alpha (ดูภาพที่ 2)

  15. อิทธิพลของระบบประสาทต่อพฤติกรรมทางเพศอิทธิพลของระบบประสาทต่อพฤติกรรมทางเพศ 1) Visual 2) Olfactory 3) Auditory 4) Tactile

  16. อิทธิพลของอายุที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศอิทธิพลของอายุที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ • อายุที่สัตว์มีความสมบูรณ์พันธุ์สูงสุด - สุกร 3-4 ปี - โค 5-7 ปี - แพะ และแกะ 4-6 ปี ปรากฏการณ์ที่บ่งบอกการเสื่อมของความสมบูรณ์พันธุ์ - อัตราการตั้งท้องต่ำ - มีการตายของตัวอ่อนตลอดระยะตั้งท้องสูง

  17. อิทธิพลของฤดูกาลที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศอิทธิพลของฤดูกาลที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ • ปัจจัยเนื่องจากฤดูกาล - ช่วงแสง Retina Pineal gland Gonad Adenohypophysial Hypothalamus - ปริมาณและคุณภาพของอาหาร - การจำศีล

  18. Male Sexual Behavior 1) การครอบครองดินแดน (Territorial and home range behavior) 2) ความก้าวร้าว (Aggressive) 3) พฤติกรรมการผสมพันธุ์ (Mating behavior)

  19. ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมทางเพศปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมทางเพศ 1) ระบบประสาท - Visual - Olfactory - Auditory - Tactile 2) ระบบฮอร์โมน

  20. ลำดับการแสดงพฤติกรรมทางเพศลำดับการแสดงพฤติกรรมทางเพศ 1. การหาคู่ผสมพันธุ์ 2. การตรวจสอบสภาวะของคู่ผสม 3. การยอมรับการผสมของเพศเมีย 4. การผสมพันธุ์

  21. ระยะของผสมพันธุ์ - ระยะเกี้ยวพาราสีและเตรียมผสมพันธุ์ (Pre-copulation) รูปแบบ : 1) แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว 2) ริมฝีปากเผยอ (Flehmen reaction) 3) ส่งเสียงที่มีความดัง และความถี่เฉพาะ (ในสุกร และแพะ) 4) มีการยืดและแข็งตัวของ Penis 5) ขึ้นทับคู่ผสม

  22. - ระยะผสมพันธุ์ (Copulation) รูปแบบ 1) Penis ยืดและแข็งตัวเต็มที่ จากขบวนการ blood accumulation 2) Courtship 3) Intromission โดยการทำงานของกล้ามเนื้อ Rectus abdominis, Carvernosous muscle, Retractor penile และ Sigmoid flexure

  23. - ระยะเสร็จสิ้นการผสมพันธุ์ (Post-copulation) รูปแบบ 1) Ejaculation 2) Dismounting 3) Refractoriness

  24. พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (1) • เพศเมีย 1. Nymphomania 2. Split estrus 3. Silent heat

  25. พฤติกรรมที่ผิดปกติทางเพศ (2) • เพศผู้ 1. Copulation แต่ไม่มี Ejaculation 2. Homosexual 3. Masturbation

More Related