1 / 31

ไดโอดที่ไบอัสไปข้างหน้า (forward bias region) : v D > 0

ไดโอดที่ไบอัสไปข้างหน้า (forward bias region) : v D > 0 . การแบ่งสภาวะการทำงานของไดโอด. EEET0210 Electronics I . แบบจำลองอย่างง่ายของไดโอด. EEET0210 Electronics I . 3.3 การวิเคราะห์ไฟตรงวงจรไดโอด. (1). (2). 1. วิธีวิเคราะห์โดยใช้กราฟ. V DD = 1 V 1 และ R = 100 W. (1).

oria
Download Presentation

ไดโอดที่ไบอัสไปข้างหน้า (forward bias region) : v D > 0

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไดโอดที่ไบอัสไปข้างหน้า (forward bias region) : vD > 0

  2. การแบ่งสภาวะการทำงานของไดโอดการแบ่งสภาวะการทำงานของไดโอด

  3. EEET0210 Electronics I แบบจำลองอย่างง่ายของไดโอด

  4. EEET0210 Electronics I 3.3 การวิเคราะห์ไฟตรงวงจรไดโอด (1) (2)

  5. 1. วิธีวิเคราะห์โดยใช้กราฟ VDD = 1 V 1และR= 100 W (1) VD = 0.717 V และID= 2.832mA

  6. 2. การวิเคราะห์โดยใช้การคำนวณซ้ำ (iterative analysis) ข้าม !! ☺

  7. 3. การวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองอย่างง่าย • โดยทั่วไปในการวิเคราะห์วงจรด้วยมือ (hand analysis) เพื่อศึกษาการทำงานอย่างคร่าว ๆ ของวงจร เราไม่นิยมใช้การวิเคราะห์สองแบบข้างต้นเพราะจะทำได้ยากมากโดยเฉพาะกรณีวงจรขนาดใหญ่ • ในกรณีดังกล่าวเรานิยมแทนที่ไดโอดด้วยแบบจำลองอย่างง่าย ทั้งนี้การวิเคราะห์แบบนี้จะใช้เวลาสั้นกว่าการวิเคราะห์สองแบบแรกมากแต่ก็ไม่สามารถให้คำตอบที่แม่นยำมากได้ ตัวอย่างเช่น จากตัวอย่างที่แล้วถ้าเราใช้แบบจำลองอย่างง่ายเราจะประมาณว่าแรงดันที่ตกคร่อมไดโอดเท่ากับ 0.7 V ทำให้ได้

  8. สัญลักษณ์สัญญาณ สัญญาณ ac และสัญญาณคงที่ สัญญาณ ac + สัญญาณคงที่

  9. 3.4 แบบจำลองสัญญาณขนาดเล็ก (small-signal model)

  10. กรณี vdมีขนาดเล็กมาก

  11. ถ้าแรงดันไฟสลับ vd = 0 เราสามารถคำนวณกระแสที่ไหลผ่านไดโอดได้ว่า ต่อมาเมื่อมีการป้อน vdเพิ่มเข้าไปในวงจร ทำให้แรงดันที่ตกคร่อมไดโอดเท่ากับ vD(t) = VD + vd(t) โดยใช้อนุกรม Taylor โดย x = vd/nVT

  12. จาก โดย x = vd/nVT • ถ้าสมมุติให้ x << 1 หรือ vd << nVTเราสามารถประมาณสมการข้างบนได้ว่า สมการข้างบนเป็นการประมาณแบบสัญญาณขนาดเล็ก (small-signal approximation) ซึ่งในทางปฏิบัติจะใช้ได้เมื่อขนาดของ vdมีขนาดเล็กกว่า 10mV จาก iD = ID + id โดย rd = nVT/ID

  13. Small-Signal Equivalent Circuit ของไดโอด rd = nVT/ID

  14. ตัวอย่าง ถ้า V = 10 V + 10 mV sin(100t) จงหา vD

  15. 3.5 วงจรเรียงสัญญาณ (rectifier) • วงจรเรียงสัญญาณเป็นวงจรไดโอดที่สำคัญที่สุดวงจรหนึ่ง • วงจรเรียงสัญญาณเป็นส่วนประกอบที่สำคัญมากของแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง(dc power supply) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่จะต้องมีในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์แทบทุกประเภท • แหล่งจ่ายไฟกระแสตรงที่ดีจะต้องรักษาระดับแรงดันให้คงที่เสมอแม้ว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟบ้าน (เช่นเกิดไฟตกจาก 220 V เป็น 210 V) หรือกระแสที่จ่ายให้โหลด (เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน)

  16. หม้อแปลงกำลัง (power transformer) ทำหน้าที่แปลงแรงดันกระแสสลับ 220 V(rms) ให้เป็นแรงดันกระแสสลับที่มีขนาดต่ำลง(เช่นแปลงจากแรงดัน 220 V เป็น 8 V เป็นต้น) • อัตราส่วนของแรงดันอินพุตและเอาต์พุตของหม้อแปลงถูกกำหนดโดยอัตราส่วนจำนวนรอบของขดลวดฝั่งปฐมภูมิ (primary winding) และขดลวดฝั่งทุติยภูมิ (secondary winding) • วงจรเรียงสัญญาณทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับรูปซายน์ให้กลายเป็นแรงดันที่ที่มีแต่สัญญาณซีกบวก เมื่อนำแรงดันดังกล่าวผ่านวงจรกรองจะได้แรงดันที่มีการกระเพื่อม(ripple) เล็กน้อย • วงจรคงค่าแรงดันจะทำการลดทนการกระเพื่อมให้หมดไป ทำให้ได้แรงดันคงที่

  17. วงจรเรียงสัญญาณแบบครึ่งคลื่น (half-wave rectifier) ประมาณ 0.7 V

  18. ในการเลือกไดโอดเพื่อใช้ในวงจร rectifier มีพารามิเตอร์ที่จะต้องคำนึงถึงคือ • 1. ความสามารถในการทนกระแส (current-handling capacity) • 2. ค่าแรงดันย้อนกลับสูงสุด (peak inverse voltage: PIV) ซึ่งคือค่าแรงดันย้อนกลับสูงสุดที่ไดโอดจะต้องทนได้ก่อนที่จะเกิดการพังทลาย • สำหรับวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น ไดโอดที่ใช้จะต้องมี PIV > |vS|p • ในทางปฏิบัติเรามักเลือกไดโอดที่มี PIV มากกว่า|vS|pอย่างน้อยสองเท่า

  19. วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลื่น (full-wave rectifier) วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลื่นที่ใช้ไดโอดสองตัว และหม้อแปลงแบบมี center tap

  20. ในขณะที่vS > VD0 D1จะ onD2จะoff ในขณะที่vS < VD0 D1จะ offD2จะon ในขณะที่ -VD0< vS < VD0ทั้ง D1และ D2จะ off ทั้งคู่ ทำให้ vO = 0

  21. vs-vDO 2vs-vDO • เมื่อ vS > VD0 D1จะ on และ D2จะ off โดยแรงดันที่ตกคร่อม D1 มีค่าประมาณVD0 ดังนั้นแรงดันย้อนกลับที่ตกคร่อมไดโอด D2 จะเท่ากับ 2vS - VD0 • ด้วยเหตุนี้เราต้องเลือกไดโอด D2ที่มี PIV > 2|vS|p - VD0 • ในทำนองเดียวกันเราต้องเลือกไดโอดD1เท่ากับ PIV = 2|vS|p - VDO เช่นกัน • จะเห็นได้ว่า PIVของไดโอดในวงจร full-wave rectifier > PIVของไดโอดในวงจร half-wave rectifier ประมาณสองเท่า

  22. วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (bridge rectifier) ไม่ต้องการหม้อแปลงแบบมี center tap แต่ใช้ไดโอด 4 ตัว

  23. วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (bridge rectifier) vs-vDO on off vs-2vDO on off -vDO

  24. D1และ D2 จะ onส่วน D3และ D4จะ off ทำให้มีกระแสไหลจากขั้ว (+) ผ่าน D1 - R - D2 เข้าไปยังขั้ว (-) เกิดแรงดันเอาต์พุต D3และ D4จะ onส่วนD1และ D2จะ off ทำให้มีกระแสไหลจากขั้ว (-) ผ่าน D3 - R - D4เข้าไปยังขั้ว (+) เกิดแรงดันเอาต์พุต ในขณะที่ -2VDO< vS < 2VDOไดโอดทั้งสี่ตัวจะ off ทำให้ vO = 0

  25. เมื่อ vS> 2VD0D1และ D2on ส่วน D3ละ D4off โดยแรงดันตกคร่อม D1และ D2 ~VDO ทำให้แรงดันย้อนกลับที่ตกคร่อม D3และ D4มีค่า~ vS- VDO • นั่นค่าสำหรับเราต้องเลือก D1และ D2 ที่มีPIV > |vS|p- VDO ซึ่งเท่ากับของ D3และ D4 • PIV ของไดโอดใน Bridge Rectifier จะ < Full-wave Rectifier แบบไดโอดสองตัวอยู่ ~ 2 เท่า วงจร Bridge Rectifier ได้รับความนิยมมากที่สุดเนื่องจาก (1) ไม่ต้องอาศัยหม้อแปลงที่มีแท็บกึ่งกลาง (2) สามารถใช้กับไดโอดที่มีค่า PIVต่ำ (3) จำนวนรอบขดลวดในแกนทุติยภูมิที่ใช้ในวงจรนี้เป็นครึ่งเดียวของวงจร FW-Rectifier แบบไดโอดสองตัว

  26. วงจรเรียงกระแสแบบใช้ตัวเก็บประจุกรองสัญญาณวงจรเรียงกระแสแบบใช้ตัวเก็บประจุกรองสัญญาณ (The recifier with a filter capacitor – the peak rectifier) • ช่วง (a) vIและ vOเท่ากับศูนย์ • ช่วง (b) ไดโอด on ทำให้ vI = vO • ช่วง (c) แรงดันอินพุตต่ำกว่าแรงดันเอาต์พุต ทำให้ไดโอด off และทำตัวเสมือนเปิดวงจร ประจุที่อยู่ใน Cจะถูกดีสชาร์จออกมาเกิดเป็นกระแสวิ่งผ่านตัวต้านทานR ทำให้ vOมีค่าต่ำลงมาเรื่อย ๆ • ช่วง (d)ไดโอดเริ่ม on อีกครั้ง ทำให้ vI = vD

  27. ระหว่างช่วงเวลา ไดโอดจะ off และ จาก ดังนั้นถ้า TAB << RC

  28. RC =1.2T Vr = 0.5VP RC = 9T Vr = 0.1 VP จะเห็นได้ว่าในกรณีที่ RC << T, T ~ TABดังนั้น

  29. สิ่งที่เราจำเป็นต้องให้ความสนใจอีกประการหนึ่งก็คือกระแสที่ไหลผ่านไดโอด เนื่องจากเราจะได้เลือกไดโอดได้ถูกต้องเหมาะสม จากการวิเคราะห์เพิ่มเติมเราสามารถแสดงได้ว่าค่ากระแสเฉลี่ยและค่ากระแสสูงสุดที่ไหลผ่านไดโอดได้เท่ากับ

  30. การบ้าน • แบบฝึกหัดบทที่ 3 ข้อ 17 และ 21

More Related