1 / 19

การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ

การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ. ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552. กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. หลักการปฏิบัติที่สำคัญ. แบ่งข้าราชการเป็น 3 กลุ่ม. การคำนวณวงเงิน. เลื่อนเงินเดือน ปีละ 2 ครั้ง. ร้อยละ 3 จาก  อัตราเงินเดือนรวม

norris
Download Presentation

การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

  2. หลักการปฏิบัติที่สำคัญหลักการปฏิบัติที่สำคัญ แบ่งข้าราชการเป็น 3 กลุ่ม การคำนวณวงเงิน เลื่อนเงินเดือน ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 3 จาก อัตราเงินเดือนรวม 1 มีนาคม ของแต่ละกลุ่ม อัตราเงินเดือนรวม 1 กันยายน ของแต่ละกลุ่ม 1 เมษายน 1 ตุลาคม 30 กันยายน (เกษียณ) บริหาร อำนวยการ วิชาการและทั่วไป

  3. ส่วนราชการมีอิสระในการบริหารวงเงินเพื่อเลื่อนเงินเดือน ภายใต้เงื่อนไข เลื่อนให้ภายในแต่ละกลุ่มก่อน หากมีวงเงินกลุ่มใดเหลือ สามารถนำไปเกลี่ยให้กลุ่มอื่นได้ เงื่อนไขที่สำคัญ ห้ามนำวงเงินที่เหลือจากการเลื่อนฯ รอบ 1 มาใช้รวมกับการเลื่อนฯ รอบ 2 การเลื่อนเงินเดือนในภาพรวมของจังหวัดต้องไม่เกินวงเงินร้อยละ 3 เลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณของแต่ละคนในแต่ละครั้ง เลื่อนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดไว้ในแต่ละสายงาน

  4. เงื่อนไขที่สำคัญ ห้ามหารเฉลี่ยให้ได้รับการเลื่อนในอัตราร้อยละที่เท่ากัน ห้ามเลื่อนให้แก่ผู้ที่ขาดคุณสมบัติในการเลื่อน เช่น ผลงานต่ำกว่าร้อยละ 60 ถูกลงโทษทางวินัย ลาป่วยหรือมาสายเกินกว่าจำนวนครั้งที่กำหนด ประกาศร้อยละในการเลื่อนเงินเดือน/ ออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือน แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล

  5. 1 2 กรณีข้าราชการถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยหรือถูกฟ้องคดีอาญา ถ้า คกก. สอบสวน / ศาล ยังไม่มีคำตัดสินลงโทษ ให้เลื่อนเงินเดือนตามผลการประเมินฯ ถ้า คกก.สอบสวน /ศาล มีคำตัดสินลงโทษที่หนักกว่าภาคทัณฑ์ ให้งดเลื่อนเงินเดือนในครั้งนั้น ๆ เช่น ถูกลงโทษตัดเงินเดือน 5% เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค. 52 เป็นต้นไป จะไม่ได้รับ การเลื่อนเงินเดือนในวันที่ 1 เม.ย. 53

  6. 3 4 กรณีข้าราชการถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยหรือถูกฟ้องคดีอาญา กรณีถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยและถูกฟ้องศาลใน ความผิดเรื่องเดียวกัน ถ้าคณะกรรมการสอบสวนได้มีคำสั่งลงโทษ และส่วนราชการได้งดเลื่อนเงินเดือนให้แก่ข้าราชการรายดังกล่าว แล้ว ต่อมาศาลได้มีคำพิพากษาลงโทษในเรื่องเดียวกัน ส่วนราชการ จะงดเลื่อนเงินเดือนให้แก่ข้าราชการรายดังกล่าวด้วยสาเหตุ เดียวกันอีกไม่ได้ ข้าราชการที่ได้รอการเลื่อนเงินเดือนไว้ก่อนที่กฎ ก.พ.ฉบับนี้ประกาศใช้ ถ้ายังไม่มีคำตัดสินลงโทษ ให้เลื่อนเงินเดือนที่รอไว้ทุกครั้ง

  7. การเลื่อนเงินเดือนกรณีถึงแก่ความตายการเลื่อนเงินเดือนกรณีถึงแก่ความตาย จะต้องปฏิบัติงานอยู่ถึงวันที่ 1 มี.ค. / 1 ก.ย. จึงจะสามารถนำอัตราเงินเดือนของข้าราชการรายดังกล่าวมารวมกับข้าราชการรายอื่น เพื่อคำนวณวงเงินเลื่อนเงินเดือนร้อยละ 3 ต้องมีผลการปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน ในรอบการประเมินนั้น ๆ พิจารณาผลการปฏิบัติงานพร้อมกับข้าราชการรายอื่น ๆ ออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือนให้ โดยมีผลตั้งแต่วันที่เสียชีวิต

  8. ผู้บริหารวงเงินและสั่งเลื่อนเงินเดือนในส่วนภูมิภาคผู้บริหารวงเงินและสั่งเลื่อนเงินเดือนในส่วนภูมิภาค ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัด ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ชำนาญงาน อาวุโส

  9. การคำนวณเงินที่ใช้ในการเลื่อนการคำนวณเงินที่ใช้ในการเลื่อน การคำนวณ 27,710 x 4% = 1,108.40 ปัดเศษเป็น 10 บาท จะได้ 1,110 บาท ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ข้าราชการรายนี้ - จะได้รับการเลื่อนเงินเดือน เป็นเงิน จำนวน 1,110 บาท - เมื่อรวมกับฐานอัตราเงินเดือนเดิม จะได้รับเงินทั้งสิ้น = 30,810 (29,700+1,110) - ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 อัตราเงินเดือนของข้าราชการผู้นี้ที่จะนำไปรวมกับข้าราชการรายอื่น เพื่อคำนวณ วงเงินร้อยละ 3 คือ 30,810 บาท • ตัวอย่างนางอาวุโส เชี่ยวชาญ ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน เงินเดือนปัจจุบัน 29,700 บาท และได้รับการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ • 1 เมษายน 2553 ในอัตราร้อยละ 4 • ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

  10. กรณีเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่งกรณีเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่ง จะได้รับเป็นค่าตอบแทนพิเศษ หลักการคำนวณเช่นเดียวกับผู้ที่เงินเดือนยังไม่ถึงเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่ง ตัวอย่างที่ 1กรณีเงินเดือนถึงสูงสุดของระดับ ตำแหน่งแล้ว นายวุฒิ พิเศษ ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ เงินเดือนปัจจุบัน 36,020 บาท ซึ่งเป็นอัตราเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่ง และได้รับการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ในอัตราร้อยละ 4 การคำนวณ 30,600 x 4% = 1,230 บาท ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ข้าราชการรายนี้ - จะได้รับการเลื่อนเงินเดือน เป็นเงินจำนวน 1,230 บาท - เงินจำนวนดังกล่าวนี้เป็นเงินตอบแทนพิเศษ จะจ่ายให้เพียง 6 เดือนเท่านั้น - ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 อัตราเงินเดือนของข้าราชการผู้นี้ที่จะนำไปรวมกับข้าราชการรายอื่น เพื่อคำนวณ วงเงินร้อยละ 3 คือ 36,020 บาท

  11. กรณีเงินเดือนใกล้ถึงสูงสุดของระดับตำแหน่งกรณีเงินเดือนใกล้ถึงสูงสุดของระดับตำแหน่ง การคำนวณ 30,600 x 4% = 1,230 บาท ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ข้าราชการรายนี้  จะได้รับการเลื่อนเงินเดือน เป็นเงินจำนวน 1,230 บาท เมื่อรวมกับฐานอัตราเงินเดือนเดิม จะได้รับเงิน ทั้งสิ้น = 36,790 (35,560+1,230) ทำให้ได้รับการเลื่อนฯเกินเงินเดือนสูงสุดของ ระดับตำแหน่งไป = 770 (36,790 – 36,020 ) ดังนั้น เงินจำนวน 770 บาท นี้ จึงเป็นเงินตอบ แทนพิเศษ จะจ่ายให้เพียง 6 เดือนเท่านั้น ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 อัตราเงินเดือนของ ข้าราชการผู้นี้ที่จะนำไปรวมกับข้าราชการรายอื่น เพื่อคำนวณวงเงินร้อยละ 3 คือ 36,020 บาท ตัวอย่างที่ 2กรณีเงินเดือนใกล้ถึงสูงสุด ของระดับตำแหน่ง นายพิษณุ รักษ์ดี ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ เงินเดือนปัจจุบัน 35,560 บาท ซึ่งเป็นอัตราเงินเดือนใกล้ถึงสูงสุดของตำแหน่ง และได้รับการเลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ในอัตรา ร้อยละ 4

  12. การเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษเนื่องจากได้รับการเลื่อนตำแหน่งการเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษเนื่องจากได้รับการเลื่อนตำแหน่ง หลักการ ผู้ที่ได้รับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่ง และได้รับการเลื่อนเป็นค่าตอบแทนพิเศษเรียบร้อยแล้ว เมื่อได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นและเงินเดือนที่ได้รับอยู่นั้นต่ำกว่าเงินเดือนสูงสุดของระดับตำแหน่งนั้น ให้ได้รับการเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษตามผลค่าตอบแทนที่ได้รับครั้งหลังสุด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ได้รับ ตัวอย่าง นายวุฒิ พิเศษ ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ เงินเดือนปัจจุบัน 36,020 บาท ซึ่งเป็นอัตราเงินเดือนสูงสุดของ ระดับตำแหน่ง และได้รับการเลื่อนเงินเดือนเป็นค่าตอบแทนพิเศษ ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 จำนวน 1,230 บาท ต่อมาวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ ต้องสั่งเลื่อนเงินเดือนให้แก่นายวุฒิ เป็นเงิน 1,230 บาท (จำนวนเงินที่เป็นค่าตอบแทนฯ ในระดับเดิม)  เมื่อรวมกับฐานอัตราเงินเดือนเดิม จะได้รับเงินทั้งสิ้น = 37,250 (36,020+1,230) ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 อัตราเงินเดือนของข้าราชการผู้นี้ที่จะนำไปรวมกับข้าราชการรายอื่น เพื่อคำนวณ วงเงินร้อยละ 3 คือ 37,250 บาท

  13. การกันเงินกรณีที่มีการเลื่อนระดับย้อนหลังการกันเงินกรณีที่มีการเลื่อนระดับย้อนหลัง ตัวอย่าง น.ส. น้อย ช่วยงาน เป็นข้าราชการประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ อัตราเงินเดือน 15,000 บาท ได้รับการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2553 และในวันที่ 1 เมษายน 2553 ได้รับพิจารณาเลื่อนฯ ร้อยละ 4 หลักการ เลื่อนเงินเดือนในระดับปฏิบัติการ คือ 15,390 x 4% = 615.6 บาท ปัดเศษให้เป็น 10 บาท จะได้ 620 บาท เลื่อนเงินเดือนในระดับชำนาญการ คือ 20,350 x 4% = 814 บาท ปัดเศษให้เป็น 10 บาท จะได้ 820 บาท ดังนั้น ต้องกันเงินไว้ 820 -620 = 260 บาท

  14. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการกรณีพิเศษ นอกเหนือโควตาปกติ ครม.มีมติเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 เห็นชอบในการเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ นอกเหนือโควตาปกติ ดังนี้ 1. ส่วนราชการต้นสังกัดพิจารณาเลื่อนเงินเดือนกรณีปกติตามโควตาหรือวงเงินการเลื่อนเงินเดือนก่อน 2. กรณีผู้ที่เงินเดือนเต็มขั้น ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ตามระเบียบกระทรวงการคลัง 3. คิดจากร้อยละ 15 ของอัตรากำลังพลแต่ละประเภท ณ วันที่ 1 มีนาคม /1 กันยายน ของแต่ละรอบการประเมิน

  15. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการกรณีพิเศษ นอกเหนือโควตาปกติ 4. ให้เลื่อนเงินเดือนฯ นอกเหนือโควตาปกติ ดังกล่าว เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 1 จากการเลื่อนเงินเดือนปกติ เช่น ณ วันที่ 1 เมษายน 2553 ได้รับการเลื่อนเงินเดือนปกติ ร้อยละ 4 ถ้ารับได้รับพิจารณาเลื่อนเงินเดือนในโควตาพิเศษ ก็จะได้รับการเลื่อนเงินเดือนเพิ่มอีกร้อยละ 1 เป็น ร้อยละ 5ทั้งนี้ เมื่อรวมโควตาปกติและโควตากรณีพิเศษแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 6 5. ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ ดังนี้ เป็นผู้ที่จะได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษ นอกเหนือ  ผู้เป็นกำลังพลในสังกัด กอ.รมน.ภาค 4  ผู้ปฏิบัติหน้าที่ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด  ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่สังกัดจังหวัดและส่วนราชการต่าง ๆ ในการกำกับและ ประสานงานของ ศอ.บต.  ผู้ที่ปฏิบัติงาน ใน ศป.ช. เฉพาะพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 6. คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการเลื่อนฯ นอกเหนือโควตาปกติ ดังกล่าว คือ  ต้องไม่ได้รับการเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษติดต่อกันเกินกว่า 2 ปี (4 ครั้ง)  มีเวลาปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 4 เดือนในแต่ละรอบการประเมิน

  16. การเลื่อนเงินเดือนโควตาพิเศษของหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดการเลื่อนเงินเดือนโควตาพิเศษของหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด 1. คิดจากร้อยละ 15 ของอัตรากำลังของหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด ณ วันที่ 1 มีนาคม หรือ 1 กันยายน ของแต่ละรอบการประเมิน 2. ผวจ.พิจารณาให้เลื่อนเงินเดือนโควตาปกติพิเศษดังกล่าว เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 1 จากการเลื่อน เงินเดือนปกติที่กรมต้นสังกัดพิจารณาให้ ทั้งนี้ เมื่อรวมโควตาปกติและโควตากรณีพิเศษแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ 6

  17. ปลัดกระทรวงมหาดไทยโดยความเห็นชอบของ อ.ก.พ.สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2553ได้กำหนดจำนวนครั้งของการลา การมาสายของข้าราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่จะไม่ได้เลื่อนเงินเดือนดังนี้ แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการลา มาสาย ที่จะไม่ได้เลื่อนเงินเดือน ลาป่วย+ลากิจ รวมกัน ต้องไม่เกิน 10 ครั้ง (ไม่เกิน 23 วัน) สายต้องไม่เกิน 8 ครั้ง แต่ทั้งนี้ หากผู้บังคับบัญชาพิจารณาแล้วเห็นว่าข้าราชการที่ขาดคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้น สมควรได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน ก็สามารถนำเรื่องเสนอขอต่อ อ.ก.พ.มท.เป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายได้

  18. สวัสดีค่ะ

More Related