370 likes | 440 Views
Part II - พลังงานจากสารอาหาร. อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์. 1. เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง 2. ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน 3. ผักต่าง ๆ 4. ผลไม้ต่าง ๆ 5. น้ำมัน และไขมันจากพืชและสัตว์. Food =. Nutrient >. Food. 1. Carbohydrates 2. Proteins 3. Fats 4. Dietary Minerals 5. Vitamins
E N D
Part II - พลังงานจากสารอาหาร อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
1. เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วเมล็ดแห้ง 2. ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน 3. ผักต่าง ๆ 4. ผลไม้ต่าง ๆ 5. น้ำมัน และไขมันจากพืชและสัตว์ Food =
Nutrient > Food
1. Carbohydrates 2. Proteins 3. Fats 4. Dietary Minerals 5. Vitamins 6. Water Provide Energy Nutrient = Support Metabolism
Food Nutrient
Food Nutrient Metabolism
Food Nutrient Metabolism Energy, Cell Macromolecules
CO2, H2O, NH3 Energy-poor end product Oxidation Chemical Energy Amphibolic Pathway Small Molecules Reduction Cell Macromolecules Carbohydrate, Lipid, Protein, Nucleic acid Metabolism
ส่วนประกอบทางเคมีในร่างกายมนุษย์ส่วนประกอบทางเคมีในร่างกายมนุษย์
Nutrient Provide Energy Support Metabolism
Nutrient Provide Energy Support Metabolism 1. Carbohydrates 2. Proteins 3. Fats
Nutrient Provide Energy Support Metabolism 1. Carbohydrates 2. Proteins 3. Fats 1. Dietary Mineral 2. Vitamins 3. Water 4. Essential Fatty Acid 5. Essential Amino Acid
พลังงานที่ร่างกายผลิตใช้ในกิจกรรม 3 ประเภท 1. Basal Metabolic Rate (BMR)50-70% 2. Specific DynamicAction (SDA)/Thermic Effect of Food (TEF) 5-10% 3. PhysicalActivity
หน่วยวัดพลังงาน 1. Calories (Cal) 2. Joule (J) 1 Kcal = 4.18 KJ
การให้พลังงานของสารอาหารการให้พลังงานของสารอาหาร • Carbohydrate 1 gm = 4 kcal • Protein 1 gm = 4 kcal • Lipid 1 gm = 9 kcal
ความต้องการพลังงานของร่างกายความต้องการพลังงานของร่างกาย = ระดับของพลังงานจากสารอาหารที่ควรได้รับเพื่อให้ร่างกายทำหน้าที่ได้โดยสมบูรณ์
Recommended Dietary Allowances ; RDA • Criteria : • Age, Sex • Body size, Body Composition • Physical Activity • Behavior Consumption • Thai RDA ปี 2546
Useful • Diagnostic Applications • Prescriptive Applications
Useful • Diagnostic Applications • Prescriptive Applications My Pyramid My Plate ธงโภชนาการ
เกณฑ์น้ำหนัก ควรหนักเท่าใด ดูจากค่าดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย = น้ำหนัก ( กิโลกรัม )ส่วนสูง ( เมตร )2
ดัชนีมวลกาย น้อยกว่า 18.5 ---> ผอม18.5 - 22.9 --->กำลังดี23 - 24.9 ---> น้ำหนักเกินมากกว่า 25 ---> อ้วน
ดัชนีมวลกาย = 54 1.58 ×1.58 = 21.6
ร่างกายต้องการพลังงานเท่าใดร่างกายต้องการพลังงานเท่าใด
อ้วน/ผอม เกิดจากการไม่สมดุลของพลังงาน พลังงานที่ใช้ พลังงานที่ได้รับ
พลังงานที่ร่างกายควรได้รับพลังงานที่ร่างกายควรได้รับ ทำงานเบา/ทำกิจกรรมเบา(ใช้แรง <200 kcal)25 - 30 กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว 1 กก. ทำงานหนักปานกลาง/ทำกิจกรรมหนักปานกลาง (ใช้ 200-350) 30 -35 กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว 1 กก. ทำงานหนักมาก/ทำกิจกรรมหนักมาก(ใช้ >350)35 - 40 กิโลแคลอรี่/น้ำหนักตัว 1 กก.
ความต้องการสารอาหาร ความต้องการสารอาหาร โปรตีน 12 - 15 % ของพลังงาน ไขมัน 30 % ของพลังงาน คาร์โบไฮเดรต 55 % ของพลังงาน
ตัวอย่างพลังงานที่ร่างกายควรได้รับสำหรับผู้มีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม • ทำงานเบา ต้องการพลังงาน 50*25 =1250 กิโลแคลอรี่ • ทำงานหนัก ต้องการพลังงาน 50*35 =1750 กิโลแคลอรี่
เกิดอะไรขึ้นกับพลังงานส่วนเกินเกิดอะไรขึ้นกับพลังงานส่วนเกิน พลังงานส่วนเกิน = 1750-1250 = 500 กิโลแคลอรี่/วัน = 3500 กิโลแคลอรี่/สัปดาห์ ผล น้ำหนักเพิ่ม 0.5 กิโลกรัม / สัปดาห์ = 2 กิโลกรัม / เดือน
Quiz test เขียนชื่อนักศึกษา รหัส คำนวณ BMI และแปลผลของตนเอง คำนวณปริมาณ Calories ที่ตนเองควรจะได้รับว่าอยู่ในระดับใดถึงระดับใดในแต่ละวัน (โดยใช้การทำงานเบา)
แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน • ส่งรายชื่อกลุ่ม • กลับไปประชุมคัดเลือกหัวข้อสำรวจปัญหาและจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาในชุมชน