1 / 171

macro

1-5

nat123
Download Presentation

macro

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 1ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหาวิธีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อผลิตสินค้าและบริการสนองความต้องการของมนุษย์ให้ได้รับประโยชน์มากที่สุด

  2. โดยสรุป เศรษฐศาสตร์หมายถึง • การตัดสินใจเลือกใช้ • ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด • มาใช้ผลิตสินค้าและบริการอย่าง • เศรษฐทรัพย์ Economics goods • สินค้าไร้ราคา Free goods • ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มีอยู่อย่างไม่จำกัด • อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

  3. Adam Smith 17xx Classic Alfred Marshall 18xx John M. Keynes 19xx Karl Marx 18xx Neo Classic Marxism Keynesian

  4. ต้นทุนค่าเสียโอกาส(Opportunity Cost) • คุณค่าหรือมูลค่าของทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายที่ต้องสละไปเมื่อมีการตัดสินใจเลือกทางใดทางหนึ่งในการใช้ทรัพยากร • ค่าเสียโอกาสต่ำ : เลือกใช้ทรัพยากรได้เหมาะสม

  5. เป้าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค เป้าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค 1.รักษาเสถียรภาพราคาสินค้า Price Stability 2.การจ้างงานในระคับสูง High Emplotment 3.การเจิญเติบโตทาง ศ.ก. Economics Growth 4. รักษาเสถียรภาพดุลการชำระเงินและ อ.แลกเปลี่ยน Stability in Balance of payment and Foreign Exchange 5.การกระจายรายได้ที่เท่าเทียม Equitable Distribution of income

  6. วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. วิธีอนุมาน (Deductive Method) 2. วิธีอุปมาน (Inductive Method)

  7. ปัจจัยการผลิต ผลตอบแทน1. แรงงาน ค่าจ้าง2. ที่ดิน ค่าเช่า 3. ทุน ดอกเบี้ย4. ผู้ประกอบการ กำไร

  8. เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นการมองภาพเศรษฐกิจจากพฤติกรรมผู้เกี่ยวข้องแต่ละราย อดัม สมิธ เขียนหนังสือ The Wealth of Nations ซึ่งถือว่าเป็นผู้วางรากฐานเศรษฐศาสตร์จุลภาค

  9. เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินงานของเศรษฐกิจในภาพรวม จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ เขียนหนังสือชื่อ The General Theory of Employment Interest and Money (เป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์มหภาคเล่มแรก)

  10. เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) เป็นการอธิบายให้เห็นสภาพการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ได้บ่งชี้ว่าดีหรือไม่ดีเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ทำนายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในนโยบายทางเศรษฐกิจ

  11. เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) เป็นการดูผลลัพธ์ของพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ และจะตั้งคำถามว่า ดีหรือไม่ดีทำให้ดีขึ้นได้หรือไม่ ข้อความเชิงนโยบายจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินคุณค่าว่าควรจะเป็นอย่างไร

  12. ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1. จะผลิตอะไร (What) 2. จะผลิตอย่างไร (How) 3. จะผลิตเพื่อใคร (For Whom)

  13. ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ วงจรเศรษฐกิจขั้นมูลฐาน รายได้ (จ่ายค่าเช่า คาแรงงาน ค่าดอกเบี้ย กำไร ) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน แรงงาน ทุน การประกอบการ) ธุรกิจ ครัวเรือน สินค้าและบริการ จ่ายค่าสินค้าและบริการ

  14. ระบบเศรษฐกิจ โดยทั่วไประบบเศรษฐกิจแบ่งออกเป็น 3 ระบบ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี หรือระบบเศรษฐกิจแบบทุน นิยม มีลักษณะสำคัญ - กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน - เสรีภาพในธุรกิจ - กำไรเป็นตัวจูงใจให้เกิดการผลิต - ราคาถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทาน - เอกชนเป็นผู้กำหนดนโยบายทางธุรกิจ

  15. 2. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน - รัฐตัดสินใจในการทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจ - รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต - เอกชนไม่มีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต

  16. 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม - รัฐและเอกชนมีกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต และมีส่วนร่วมในการวางแผนเศรษฐกิจ - เอกชนมีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ - การจัดสรรทรัพยากรผ่านกลไกราคา แต่มีบทบาท น้อยกว่าระบบทุนนิยม

  17. ทุนนิยม ข้อดี 1. การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพแรงจูงใจ คือ กำไร เลือกผลิตสินค้าที่คนต้องการ แข่งขันการผลิต ไม่สามารถหากำไรจากตั้งราคาแพง ปรับเทคนิคการผลิตให้ต้นทุนต่ำ 3.สิทธิเป็นเจ้าของปัจจัย พยายามใช้ปัจจัยไปในทางให้ตนมีรายได้มากที่สุดประเทศมีรายได้สูงขึ้นเศรษฐกิจเจริญเติบโตรวดเร็ว

  18. ทุนนิยม • ข้อเสีย • การมีสิทธิในทรัพย์สินและสะสมทรัพย์สินทำให้ มุ่งหาประโยชน์โดยไม่คำนึงศีลธรรม&รับผิดชอบสังคม • อาจมีการแข่งขันแบบไม่เป็นธรรมบางกลุ่มแสวงหาประโยชน์ • ความเหลื่อมล้ำการกระจายรายได้

  19. คอมมิวนิสต์ • ข้อดี • เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • หลักประกันว่าทุกคนมีงานทำ • รายได้เสมอภาค • ขจัดปัญหากอบโกยประโยชน์&การขาดคุณธรรม

  20. คอมมิวนิสต์ • ข้อเสีย • ขาดแรงจูงใจ • ขาดประสิทธิภาพเศรษฐกิจเติบโตช้าๆ

  21. วางแผน ทุนนิยม III ระบบเศรษฐกิจแบบผสม(Mixed Economy) • การแก้ปัญหาพื้นฐาน • กลไกราคาและการวางแผนจากส่วนกลาง แบบผสม

  22. ความเป็นไปได้ในการผลิตความเป็นไปได้ในการผลิต ตารางแสดงแผนการผลิตสินค้า 2 ชนิด โดยใช้ปัจจัยการผลิตชนิดเดียวกัน

  23. สินค้า y A 5 E เส้น PPC F สินค้า x 0 5 เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต

  24. ประโยชน์ของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ประโยชน์ของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1. ต่อผู้บริโภค 2. ต่อกลุ่มผู้ประกอบอาชีพ 3. ต่อกลุ่มผู้บริหาร

  25. เครื่องมือที่ใช้ประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เครื่องมือที่ใช้ประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ฟังก์ชั่น (Function) หมายถึงความสัมพันธ์ ของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ เช่น Y = f (x)

  26. 5 4 3 2 1 X -1 -2 -3 -4 -5 Y 2.กราฟ A (2,3) -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 จุดกำเนิด B (-3, -4)

  27. โดยปกติเส้นกราฟจะเขียนได้จากตัวเลขที่มีความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว

  28. Y Y2 = 20 ∆y Y1 = 15 ∆x X X2 = 1 X1 = 3 กราฟเส้นตรง

  29. ความชัน

  30. Y Y B C B y y x A A x X X 0 0 ความชันของเส้นตรงมีค่า เท่ากันตลอดเส้น ความชันของเส้นโค้งมีค่า ไม่เท่ากันตลอดเส้น

  31. จำนวนผลผลิต ต้นทุนการผลิต B ค่าสูงสุดความชัน = 0 AC A จำนวนแรงงาน จำนวนผลผลิต 0 0 L Q ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด (Minimum and Maximum Value) เป็นค่าที่นิยมมาใช้วิเคราะห์กำไรสูงสุดหรือต้นทุนต่ำสุด รูปแสดงต้นทุนเฉลี่ยต่ำสุดและเส้นผลผลิตสูงสุด

  32. วัฏจักรเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน

  33. วัฏจักรเศรษฐกิจ ช่วงเป็นความผันผวนของผลิตภัณฑ์ในประเทศที่ แท้จริง ที่มีอัตราการขยายตัวผันแปรไปจากอัตราการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพในระยะยาวแบ่งออกเป็น 4 ช่วง • ช่วงขยายตัวหรือฟื้นตัว (expansion or recovery) • ช่วงรุ่งเรือง (prosperity) • ช่วงหดตัวหรือถดถอย (contraction or recession) • ช่วงตกต่ำ (depression)

  34. Y IP ว่างงานต่ำ Iว่างงานลดลง Iว่างงานสูงขึ้น IP ว่างงานสูง time วัฎจักรเศรษฐกิจ(Business cycles) รุ่งเรือง รุ่งเรือง หดตัว ฟื้นตัว หดตัว ตกต่ำ ตกต่ำ

  35. เงินเฟ้อ(Inflation) • ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย • ตัวชื้วัด ดัชนีราคา ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้าโดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น

  36. ดัชนีราคา ราคาค่าเฉลี่ยของสินค้าและบริการของปีใดปีหนึ่ง เปรียบเทียบกับราคาเฉลี่ยของสินค้าและบริการเดียวกันนั้นในปีที่อ้างอิง หรือที่เรียกว่าปีฐาน • ปีฐานนั้น ปีนั้นจะต้องเป็นปีที่มีภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างเป็นปกติ ไม่เกิดภาวะเงินเฟ้อหรือมีการว่างงานสูง ไม่เกิดภาวะสงครามหรือเกิดภัยพิบัติอย่างรุนแรง

  37. ดัชนีราคาที่สำคัญ ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI) เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดระดับราคาโดยเฉลี่ยของสินค้าและบริการเพื่อการบริโภค ณ ตลาดและร้านค้าปลีก ในปีใดปีหนึ่ง เทียบกับราคาในปีฐานซึ่งเท่ากับ 100

  38. ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI)

  39. สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อสาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation)

  40. เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์(Demand - Pull Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้นอุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น • การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินในระบบ

  41. Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) GDP = C + I + G + (X – M)

  42. ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่ม • ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพิ่ม • ค่าใช้จ่ายในภาครัฐเพิ่ม • รายได้จากการค้าระหว่างประเทศเพิ่ม

  43. 1. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ

  44. P P3 P2 P1 AD3 AD2 0 Q AD1 AS = Aggregate Supply AD = Aggregate Demand AS

  45. 2. ปริมาณเงินเพิ่ม • ธนาคารกลางธนบัตรเพิ่ม • ธนาคารพาณิชย์ขยายสินเชื่อเพิ่ม • รัฐบาลดำเนินนโยบายงบประมาณ ขาดดุล • รัฐนำเงินคงคลังออกมาใช้

  46. ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ 2.การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น

  47. เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation) • เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม • อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด

  48. P P3 P1 P2 AD 0 Q AS3 AS2 AS1

  49. สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นสาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น • การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า(Wage - Push Inflation) • การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและวัตถุดิบต่างๆ • การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต(Profit - Push Inflation)

  50. ขนาดของภาวะเงินเฟ้อ เราอาจแบ่งภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นได้ 3 ขนาด คือ 1. ภาวะเงินเฟ้ออย่างอ่อน (Mild Inflation) ที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นประมาณร้อยละ 1-5 ต่อปี จัดว่าเป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ 2. ภาวะเงินเฟ้ออย่างปานกลาง (Moderate Inflation) ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นร้อยละ 5 -20 ต่อปี 3. ภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง (Hyper Inflation) ระดับ ราคาสินค้าสูงขึ้นเกินกว่าร้อยละ 20 ต่อปี นำไปสู่ความความชะงักงันหรือหายนะทางเศรษฐกิจ

More Related