1 / 70

บทที่ 2

บทที่ 2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. คอมพิวเตอร์. มาจากภาษาละติน ว่า “Computare” มีความหมายว่า การนับ หรือ การคำนวณ. คอมพิวเตอร์. หมายถึง "เครื่องคำนวณโดยอัตโนมัติ สมองกล ”. ลักษณะเด่นของเครื่องคอมพิวเตอร์. การปฏิบัติงานอัตโนมัติ ( Self Acting) ความเร็ว ( Speed)

mimis
Download Presentation

บทที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

  2. คอมพิวเตอร์ มาจากภาษาละติน ว่า “Computare” มีความหมายว่า การนับ หรือ การคำนวณ

  3. คอมพิวเตอร์ หมายถึง "เครื่องคำนวณโดยอัตโนมัติ สมองกล”

  4. ลักษณะเด่นของเครื่องคอมพิวเตอร์ • การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) • ความเร็ว (Speed) • การจัดเก็บข้อมูล (Storage) • ความน่าเชื่อถือ (Reliability)

  5. ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) • ทำงานซ้ำ ๆ (Repeatability) • การติดต่อสื่อสาร (Communication)

  6. ยุคการพัฒนาของคอมพิวเตอร์ยุคการพัฒนาของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (ปี ค.ศ. 1951 – 1958) • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2(ปี ค.ศ. 1959 - 1964) • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (ค.ศ. 1965 - 1670) • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4(ค.ศ. 1971-1990) • คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (ค.ศ. 1991-ปัจจุบัน)

  7. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (ปี ค.ศ. 1951 – 1958) • ใช้หลอดสุญญากาศ เป็นส่วนประกอบหลัก • ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้กำลังไฟฟ้าสูง เกิดความร้อนสูงได้ง่าย • เครื่องจะทำงานได้ต้องมีการป้อนภาษาเครื่อง (Machine Language) เข้าไปเพื่อควบคุมการทำงาน • เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Symbolic Language) เช่น ภาษา Assembly เพื่อทำให้การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายกว่าภาษาเครื่อง

  8. หลอดสุญญากาศ เครื่อง UNIVAC

  9. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2(ปี ค.ศ. 1959 – 1964) • ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรสำคัญ • ภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นมา คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) และภาษาระดับสูงต่างๆ เช่น ภาษา FORTRAN , COBOL • เทปแม่เหล็กมาใช้ในการเก็บข้อมูล

  10. ทรานซิสเตอร์ คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2

  11. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (ค.ศ. 1965 – 1670) • มีการพัฒนาแผงวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) • ทำให้ขนาดของคอมพิวเตอร์เล็กลง • ใช้โปรแกรมภาษาระดับสูง

  12. วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (LSI) และคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3

  13. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4(ค.ศ. 1971-1990) • ใช้สารกึ่งตัวนำมาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated: VLSI) • มีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) • เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทำงานสูงและรวดเร็วมาก • เกิดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC: Personal Computer)

  14. วงจรรวมความจุสูงมาก (VLSI) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

  15. คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (ค.ศ. 1991-ปัจจุบัน) • มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ • การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) • พัฒนาเกี่ยวกับระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)

  16. คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน

  17. ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตาม • Word size • Processing speed • RAM

  18. 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) • มีสมรรถนะในการทำงานสูงกว่าคอมพิวเตอร์แบบอื่น ๆ • “คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High Performance Computer)” • เหมาะกับงานที่มีการคำนวณมาก ๆ เช่น งานวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาประเภทต่าง ๆ งานวิเคราะห์พยากรณ์อากาศ งานทำแบบจำลองโมเลกุลของสารเคมี งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคาร ที่ซับซ้อน • ราคาแพง

  19. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray YMP

  20. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) • สามารถประมวลข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หลายสิบล้านคำสั่ง/วินาที • เหมาะกับการใช้งาน ด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจำนวนมากๆ

  21. คอมพิวเตอร์เมนเฟรม

  22. 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) • สมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม • เหมาะกับงา งานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม • พบได้ตามหน่วยงานราชการระดับกรม

  23. มินิคอมพิวเตอร์

  24. 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) • “คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC)” • ราคาไม่แพง

  25. Smart phone PDAs Palm Notebook ประเภทของไมโครคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) • คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Portable Computer)

  26. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 1. มีการรับข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยหน่วยรับข้อมูล/คำสั่ง ซึ่งเป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทต่าง ๆ 2. ข้อมูลจะถูกส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผลกลางเพื่อทำการประมวลผลตามคำสั่งที่ที่ตั้งไว้ 3. ในขณะที่ทำการประมวลผลหน่วยความจำหลักจะเป็นที่เก็บคำสั่งต่าง ๆ ในการประมวลผล 4. เมื่อประมวลผลเสร็จแล้ว ผลลัพธ์จะถูกเก็บที่หน่วยความจำสำรอง 5. ผลลัพธ์บางส่วนจะถูกแสดงผลด้วยหน่วยแสดงผล

  27. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ • ซอฟต์แวร์ • บุคลากร • ระเบียบวิธีปฏิบัติ • ข้อมูลและสารสนเทศ

  28. 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่มาพ่วงต่อ (Peripheral Devices)

  29. ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ • หน่วยรับข้อมูลเข้า • หน่วยประมวลผล • หน่วยแสดงผล • หน่วยความจำ • หน่วยติดต่อสื่อสาร

  30. 1. หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input unit) • เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล/คำสั่ง • ข้อมูลที่นำเข้ามี ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง ภาพ วีดิทัศน์

  31. Mouse Keyboard Touch pad Touch screen Trackball Joystick 1.1 อุปกรณ์รับคำสั่งต่าง ๆ จากผู้ใช้

  32. 1.2 อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลภาพ

  33. 1.3 อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลเสียง

  34. 1.4 อุปกรณ์นำเข้าข้อมูลวีดิทัศน์

  35. Finger reader OCR HCR OMR Barcode reader 1.5 อุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ รับรู้และแยกแยะความแตกต่างระหว่างอักขระ และรูปแบบ (Recognition device)

  36. 2. หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit: CPU) • เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์ • ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุมระบบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กัน

  37. ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง

  38. หน้าที่ของส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางหน้าที่ของส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลาง • หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของหน่วยทุกๆ หน่วย ใน CPU และอุปกรณ์อื่นที่ต่อพ่วง • หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU) ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic operations) และการคำนวณทางตรรกศาสตร์ (Logical operations) • หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผล ในครั้งหนึ่ง ๆ เท่านั้น

  39. RAM ROM

  40. Hard disk Memory card DVD Thumb drive CD 3. หน่วยความจำ (Memory Unit) • หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) • หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit)

  41. หน่วยความจำหลัก • รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำสำหรับเก็บคำสั่ง (Program Memory) ที่ใช้บ่อยๆ เช่น คำสั่งเริ่มต้นการทำงานของคอมพิวเตอร์ • แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูลและคำสั่ง (Data & Programming Memory) จากหน่วยรับข้อมูล ข้อมูลและคำสั่งเหล่านั้นจะหายไปเมื่อมีการรับข้อมูล/คำสั่งใหม่ หรือในกรณีที่กระแสไฟฟ้าขัดข้องหรือปิดเครื่อง

  42. 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผลทำหน้าที่รับข้อมูลจากหน่วยความจำ ซึ่งผ่านการประมวลผลแล้วมาแสดงในรูปแบบต่างๆ โดยอาศัยอุปกรณ์แสดงผล

  43. จอภาพ (Monitor) • จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) • จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display)

  44. Dot matrix Laser Ink Jet Multifunction เครื่องพิมพ์ (Printer) • เครื่องพิมพ์แบบดอตเมตทริกซ์ (Dot matrix printer) • เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink Jet Printer) • เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer)

  45. เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ให้ความเที่ยงตรง ความละเอียดและสัดส่วนที่ถูกต้องสูง สามารถพิมพ์ลงบนกระดาษที่มีขนาดใหญ่ได้

  46. เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)

  47. ลำโพง (Speaker)

More Related