html5-img
1 / 20

แบบฝึกหัด

แบบฝึกหัด. 1. กำหนด atomic mass ของ   H = 1   O =  16    Cl = 35.5   Na = 23   S =  32   K = 39

merlin
Download Presentation

แบบฝึกหัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบฝึกหัด 1. กำหนด atomic mass ของ   H = 1   O =  16   Cl = 35.5   Na = 23   S =  32   K = 39 ธาตุ    atomic massน้ำหนัก (กรัม)  จำนวนอะตอมNa                                   23                       23              6.02 x 1023                  S                                 … 32……32…… 6.02 x 1023 ……                  K                                 …39………39…… 6.02 x 1023 …… สารประกอบmolecular weight น้ำหนัก (กรัม)จำนวนโมเลกุล HCl                                  36.5                   36.5           6.02 x 1023                  H2SO4…98……98……… 6.02 x 1023 …….NaOH…40………40…….… 6.02 x 1023 …

  2. 2. ถ้าชั่งสารมาเป็นกรัม  โดยให้ตัวเลขของมวลนั้นเท่ากับ atomic mass หรือ molecular weight ของสารนั้น       สารนั้นจะมีจำนวนอนุภาค  =  6.02 x 1023 3.  ตัวเลข  6.02X1023อนุภาค นี้เรียกว่า  Avogadro no. 4.  คำว่าอนุภาค  หมายถึงสิ่งใดบ้าง  ........อะตอม โมเลกุล ไอออน..........

  3. 5.  กำหนด atomic mass ของ   H = 1   C = 12   N = 14   O = 16   Cl = 35.5   Na = 23         P = 31    S =  32    K = 39    Cu = 63.5      5.1 น้ำ  1  โมล  คิดเป็นกี่กรัม……………18…………………………………………………………………………5.2 น้ำ  0.2  โมล  คิดเป็นกี่กรัม…………3.6…………………………………………………………………………5.3 ฟอสฟอรัส   5 โมลเป็นกี่กรัม ……………155…………………………………………………………………………5.4 แอมโมเนีย  (NH3) 85 กรัมเป็นกี่โมล……………5………………………………………………………………………5.5 คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (CCl4) 77 กรัมเป็นกี่โมล…………0.5……………………………………………………………………

  4. 6.  จงคำนวณหาโมลและน้ำหนักของสารต่อไปนี้     6.1 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  3.01X 1022โมเลกุล……0.05 mole, 22 g……………………………………………………………     6.2 โพแทสเซียมไอออน  18.06 X 1022ไอออน……0.3 mole, 11.7 g…………………………………………………………………     6.3 ทองแดง  1 อะตอม…… 1.67 X 10-24 mole, 1.06X 10-22g……………………………… 7.  สารต่อไปนี้มีจำนวนอนุภาคเท่าใด     7.1 โซเดียมไอออน (Na+) 0.5 โมล……… 3.01X 1022 ไอออน ………………………………………………     7.2 คาร์บอน  6 กรัม………… 3.01X 1022 อะตอม ……………………………………………………     7.3 กรดซัลฟิวริก  (H2SO4) 0.98 กรัม……… 6.02 X 1021โมเลกุล …………………………………………………………

  5. จงเปลี่ยนสมการโมเลกุลให้อยู่ในรูปสมการไอออนจงเปลี่ยนสมการโมเลกุลให้อยู่ในรูปสมการไอออน • 1. NaOH+ HCl NaCl + H2O • H+ + OH-  H2O • 2. Ca(OH)2(aq) + Na2CO3 (aq)  CaCO3 (s) + 2NaOH (aq) • Ca2+ + CO32-  CaCO3(s) • 3. CaCl2(aq) + 2AgNO3 (aq)  Ca(NO3)2 (aq) + 2AgCl (s) • 2Ag+ + 2Cl-  2AgCl (s) • 4. NaOH(s) + HNO3 (aq)  NaNO3 (aq) + H2O (l) • NaOH (s) + H+ Na++ H2O (l) • 5. BaSO4(s) + Na2CO3 (aq)  BaCO3 (s) + Na2SO4 (aq) • BaSO4 (s) + CO32- BaCO3(s) + SO42-

  6. แบบฝึกหัด 1. ก๊าซผสมระหว่างก๊าซมีเทนกับก๊าซโพรเพน อย่างละ 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องใช้ก๊าซออกซิเจนกี่ลูกบาศก์เซนติเมตรจึงจะทำปฏิกิริยาพอดีกับก๊าซผสมนี้(105) CH4 + C3H8 + O2 CO2 + H2O 2. ในการผลิต Freon ซึ่งใช้เป็นน้ำยาในตู้เย็น ดังแสดงในสมการ เมื่อใช้ CCl4 ปริมาณ 30.8 กรัม ผสมกับ SbF3 17.9 กรัม จะได้ Freon กี่กรัมกำหนดให้molecular weight ของ CCl4 = 154, SbF3 = 179, CCl2F2 = 121 (12.1)

  7. แบบฝึกหัด 3. สารละลาย NaOHทำปฏิกิริยากับคลอไรด์ของโลหะ A ได้ตะกอนไฮดรอกไซด์ของ A ดังสมการ ถ้าสารละลาย NaOH 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร ทำปฏิกิริยาพอดีกับACln 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร สูตรโมเลกุลของ ACln ควรเป็นอย่างไร (ACl2)

  8. แบบฝึกหัด จากปฏิกิริยา (สมการยังไม่ดุล) ถ้าใช้C2H4 30 กรัม ทำปฏิกิริยากับ O2 90 กรัม สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ และสารที่เหลือจะเหลือกี่กรัม(O2, 3.75 g) 2. จากสมการ Fe (s) + S (l) FeS (s) ในการทดลองใช้ Fe 7.0 g ทำปฏิกิริยากับ S 8.0 g (Fe = 56, S = 32) สารใดเป็น limiting reagent (Fe) และจงคำนวณน้ำหนักของ FeSที่เกิดขึ้น(11 g) เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงจะมี excess reagent เหลืออยู่กี่กรัม(4 g)

  9. แบบฝึกหัด 3. ยูเรีย [(NH2)2CO] เป็นสารที่ใช้สำหรับการทำปุ๋ย และอุตสาหกรรมโพลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกริยาระหว่างแอมโมเนียกับคาร์บอนไดออกไซด์ ถ้าให้ NH3 637.2 กรัม ทำปฏิกริยากับ CO21142 กรัม จงหาสารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ(NH3)จงคำนวณน้ำหนักของ (NH2)2CO ที่เกิดขึ้น (1124.47 g) เมื่อปฏิกริยาสิ้นสุดจะมีสารใดเหลือ(CO2) จากปฏิกริยาและเหลือกี่กรัม(317.24 g) 2 NH3 + CO2 (NH2)2CO + H2O

  10. แบบฝึกหัด ธาตุโมลิบดินัม (Mo) เตรียมได้จากแร่โมลิบไนต์ (MoS2) โดยการเผาเพื่อให้เกิดออกไซด์แล้วรีดิวซ์ออกไซด์ที่ได้ด้วยไฮโดรเจน ดังสมการ 2MoS2 + 7O2 ----->      2MoO3 + 4SO2            MoO3 + 3H2 ----->          Mo + 3 H2O ถ้ามีแก๊สออกซิเจนอยู่ 560 กรัม แก๊สไฮโดรเจน 120 กรัม และ MoS2 1600 กรัม จงคำนวณหาน้ำหนัก Mo ที่เตรียมได้ ( Mo = 96.00, S = 32.00, O = 16.00, H = 1.00) (960 g) ฟอสฟอรัสทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนพบว่าได้ผลิตภัณฑ์เป็น PCl3ถ้าต้องการได้ PCl3 825 กรัม จะต้องใช้แก๊สคลอรีนกี่ dm3ที่ STP (P = 31, Cl = 35.5) (201.6) 2 P + 3 Cl2 2 PCl3

  11. แบบฝึกหัด 1. เมื่อเผาโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 336 g จะได้โซเดียมคาร์บอเนต 169.6 g กับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ ร้อยละของผลได้ของโซเดียมคาร์บอเนตเป็นเท่าใด (80%) 2 NaHCO3 Na2CO3 + CO2 + H2O 2. สารประกอบ Fe2O3 3200 g นำมาทำปฏิกิริยากับสารcoke (C) 960 g ได้ผลิตภัณฑ์เป็น Fe 1500 g จงหาผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ของ Fe (67%) 2 Fe2O3 + 3 C 4 Fe + 3 CO2

  12. แบบฝึกหัด 3. ปฏิกิริยาเริ่มต้นด้วย 384 กรัม ของของแข็งซัลเฟอร์ S6 สมมติว่ามีออกซิเจนอย่างไม่จำกัด จงหาผลผลิตทางทฤษฎีและผลผลิตร้อยละถ้าเกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เพียง 680 กรัม(88.5%) S6 + 6 O2 6 SO2

  13. ตัวอย่างข้อสอบ3, 3, and 4, respectively 1. CO2จำนวน 3.01 x 1022โมเลกุล มีกี่โมล 1) 0.01 2) 0.1 3) 0.05 4) 0.5 5) 3.01 2. H2SO4จำนวน 0.98 กรัม มีจำนวนกี่อนุภาค 1) 0.1 2) 1 3) 6.02 x 10214) 6.02 x 10225) 6.02 x 1023 3. Moleculare weight ของแอมโมเนีย (NH3) มีค่าเท่าใด และแอมโมเนีย 51 กรัม มีกี่โมล 1) 10 และ 0.51 2) 10 และ 5.1 3) 10 และ 510 4) 17 และ 3 5) 17 และ 867

  14. ตัวอย่างข้อสอบ3 and 1, respectively เมื่อใช้สารประกอบ Fe2O3จำนวน 478.8 กรัม ทำปฏิกิริยากับ C จำนวน 120 กรัม ได้ Fe จำนวน 150 กรัม และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (มวลโมเลกุล Fe = 55.8, O = 16 และ C = 12) 4. ร้อยละของผลิตภัณฑ์ของ Fe เป็นเท่าใด 1) 652) 553) 454) 35 5) 25 5. เมื่อปฏิกิริยานี้สิ้นสุดสารเกินพอเหลือกี่กรัม 1) 8902) 795 3) 954) 150 5) 500

  15. ตัวอย่างข้อสอบ1 6. ข้อใดกล่าวถึงสมการเคมีไม่ถูกต้อง 1) บอกให้ทราบเกี่ยวกับอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา 2) สมการเคมีที่สมบูรณ์ จะบอกสถานะของสารในปฏิกิริยา 3) สมการเคมีบอกให้ทราบถึงปริมาณสารตั้งต้นที่ใช้เข้าทำปฏิกิริยากัน และปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น 4) การดุลสมการจะต้องหาตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้างหน้าสัญลักษณ์หรือสูตรของสารในสมการเพื่อให้จำนวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์เท่ากับจำนวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้น 5) ข้อ 1) และ 4)

  16. ตัวอย่างข้อสอบ4 7. จากสมการต่อไปนี้ 2H3PO4+ 3Mg(OH)2 Mg3(PO4)2+ 6H2O ถ้าต้องการให้ได้น้ำจำนวน 54 กรัม จะต้องใช้สารตั้งต้น H3PO4และ Mg(OH)2อย่างน้อยที่สุดอย่างละกี่กรัม (atomic mass ของ H = 1, P = 31, O = 16 และ Mg = 24 กรัมต่อโมล) 1) H2PO458 กรัม และ Mg(OH)298 กรัม 2) H2PO487 กรัม และ Mg(OH)298 กรัม 3) H2PO465 กรัม และ Mg(OH)287 กรัม 4) H2PO498 กรัม และ Mg(OH)287 กรัม 5) H2PO498 กรัม และ Mg(OH)2116 กรัม

  17. ตัวอย่างข้อสอบ1 8. aC2H2Cl4+ bCa(OH)2 cC2HCl3+ dCaCl2+ eH2O ข้อใดถูกต้อง 1) a + b = c +d 2) a + b = 2 3) a < c 4) a + b > a + b + c 5) ไม่มีข้อใดถูก

  18. ตัวอย่างข้อสอบ2 9. CH4 + O2 CO2+ H2O (สมการยังไม่ดุล) หากนำ CH422.4 ลิตร มาทำปฏิกิริยากับ O2จำนวน 22.4 ลิตร ที่ STP จะเกิด H2O กี่กรัม 1) 9 กรัม2) 18 กรัม 3) 27 กรัม4) 32 กรัม5) 36 กรัม

  19. ตัวอย่างข้อสอบ3 10. ปฏิกิริยา SO2+ O2 SO3(สมการยังไม่ดุล) หากป้อน SO2จำนวน 32 กรัม และ O2จำนวน 32 กรัม พบว่าเกิด SO3เพียง 5.6 ลิตร ที่ STP เมื่อมวลอะตอมของ S = 32 และ O = 16 กรัมต่อโมล ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1) Theoretical yield = 0.25 2) ผลต่างระหว่าง Theoretical yield กับ Actual yield = 0.5 3) Percentage yield = 50% 4) Actual yield เท่ากับ 0.5 mol 5) ไม่มีข้อใดถูก

  20. ตัวอย่างข้อสอบ2

More Related