1 / 34

นโยบาย รพ.สต.และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร

นโยบาย รพ.สต.และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร. นพ.เกษม เวช สุทธานนท์ สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. ทำไมต้อง รพ.สต. ปัญหาสาธารณสุข และบริการสุขภาพ ทิศทางบริการสุขภาพ บทบาทบุคลากรทางสุขภาพในรพ.สต. ระบบสนับสนุน. การสาธารณสุขไทยในอดีต. การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย

melvyn
Download Presentation

นโยบาย รพ.สต.และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบาย รพ.สต.และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร นพ.เกษม เวชสุทธานนท์ สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  2. ทำไมต้อง รพ.สต. • ปัญหาสาธารณสุข และบริการสุขภาพ • ทิศทางบริการสุขภาพ • บทบาทบุคลากรทางสุขภาพในรพ.สต. • ระบบสนับสนุน

  3. การสาธารณสุขไทยในอดีตการสาธารณสุขไทยในอดีต • การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย • การแพทย์แผนตะวันตกและการกำเนิดศิริราชพยาบาล • การกำเนิดกระทรวงสาธารณสุข • พัฒนารพ.จังหวัดและรพ.อำเภอ • การสาธารณสุขมูลฐาน • ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย • หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  4. สภาพปัญหาระบบบริการสุขภาพสภาพปัญหาระบบบริการสุขภาพ • บทเรียนจากต่างประเทศ • ประเทศที่เน้นผู้เชี่ยวชาญ รพ.ใหญ่ เครื่องมือ ยาใหม่ๆ ประกันแบบเอกชน เช่น สหรัฐอเมริกา • ประเทศที่เน้นแพทย์ครอบครัว/ทั่วไป หน่วยใกล้บ้าน ใกล้ใจ หลักประกันทั่วหน้า เช่น อังกฤษ • บทเรียนจากประเทศไทย(เน้นรักษา รพ. ผู้เชี่ยวชาญ) • หน่วยบริการปฐมภูมิอ่อนแอ • โรงพยาบาล คนไข้มาก ข้อผิดพลาด ฟ้องร้อง เกิดความทุกข์ ต้นทุนค่าใช้จ่าย ผลลัพธ์ • ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ค่าใช้จ่าย ผลลัพธ์ ความเป็นธรรม

  5. สภาพปัญหาระบบบริการสุขภาพสภาพปัญหาระบบบริการสุขภาพ • ปัญหาเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อ โรคเรื้อรัง เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม สิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคม จริยธรรม • โรงพยาบาล ออกแบบ Acute care • บริการปฐมภูมิ (Primary care) ในต่างประเทศ เป็นผู้จัดการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง(Case manager) เข้าถึงได้ง่าย ดูแลต่อเนื่ององค์รวม ผสมผสาน เชื่อมบริการ

  6. สภาพปัญหาของระบบบริการสาธารณสุขไทยสภาพปัญหาของระบบบริการสาธารณสุขไทย รพ.แออัด ไม่ประทับใจ ไร้คุณภาพ ผู้บริการและผู้รับบริการ มีความทุกข์ ประชาชนขาดการดูแลตนเอง เจ็บป่วยมากขึ้น การฟ้องร้อง รพ.และจนท หน่วยบริการปฐมภูมิ อ่อนแอ

  7. ระบบบริการสุขภาพของไทยระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94)บริการตติยภูมิจังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724)บริการทุติยภูมิอำเภอ (10,000-100,000) สถานีอนามัย(9,770)บริการปฐมภูมิตำบล (1,000-10,000) รพสต. อบต./เทศบาล(6,000)ระบบสุขภาพชุมชนหมู่บ้าน การดูแลและจัดการตนเองครอบครัว

  8. จุดอ่อนของระบบบริการปฐมภูมิจุดอ่อนของระบบบริการปฐมภูมิ • การดูแลต่อเนื่อง การฟื้นฟูสภาพ โรคเรื้อรัง องค์ความรู้ชีวการแพทย์ การประสานบริการระหว่างบ้าน-หน่วยบริการปฐมภูมิ -รพ.(ชาวบ้านขาดความเชื่อมั่นการรักษา) • งานเชิงรุก ออกแบบมาจากส่วนกลาง ขาดการมีส่วนร่วมจากชุมชน มุ่งเน้นงานที่เป็นตัวชี้วัดจากส่วนกลาง ขาดการนำปัญหาชุมชนเป็นตัวตั้ง การออกแบบมาตรการใช้บริบทพื้นที่

  9. จุดแข็งของระบบบริการปฐมภูมิจุดแข็งของระบบบริการปฐมภูมิ • ครอบคลุมพื้นที่ (เข้าถึงบริการ? ใกล้บ้าน ใกล้ใจ?) • ความสัมพันธ์อันดี หน่วยบริการ-ชุมชน • บริการเบ็ดเสร็จ ณ.จุดเดียว (One stop services) • ดูแลแบบผสมผสาน บูรณาการ องค์รวม กาย-จิตอารมณ์-สังคม-จิตวิญญาณ

  10. บทบาท เจ้าหน้าที่สาธารณสุข • Care Providerให้บริการด้านสุขภาพ ด้านรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพโดยตรง ให้ข้อมูลทางวิชาการ ระบุปัจจัยกระทบต่อสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลป้องกัน สร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มที่ป่วยและไม่ป่วย โดยเน้นที่เจ้าหน้าที่เป็นคนดำเนินการหลัก (Key actor) อาศัยความรู้และทักษะ เช่น การสั่งการรักษา บริการด้านยา หัตถการ • Evidence base / context base • Biomedical model/bio-psycho-social model

  11. บทบาท เจ้าหน้าที่สาธารณสุข • Health/Case managerการสนับสนุน ต่อยอดสิ่งที่ทำดีอยู่แล้ว ประสาน เชื่อมโยงกับแหล่งบริการ หรือแหล่งทรัพยากรอื่น เพื่อให้เกิดการดูแล การจัดการ โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholder) เพื่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง เช่น เป็นผู้จัดการ ประสานการดูแล ตั้งแต่หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล ไปถึงการดูแลที่บ้านและชุมชน • Advocate and empowerment กระตุ้น สนับสนุน และ เสริมศักยภาพ กลุ่มเป้าหมาย ครอบครัว ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องให้มีบทบาท เข้ามามีส่วนร่วม หลักในการดูแลและจัดการปัญหาสุขภาพ

  12. บทบาทของเจ้าหน้าที่ Facillator Catalyst networker

  13. รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลรพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล • หน่วยบริการสุขภาพระดับตำบล ที่ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพ(บุคลากร และทรัพยากร)ในงานส่งเสริมสุขภาพ ,ป้องกันโรค และรักษาพยาบาลอย่างสมดุล(P&P และOP) มีประชากรในพื้นที่รับผิดชอบชัดเจน สามารถสร้างความร่วมมือ อสม. ท้องถิ่น ชุมชน ในการพึ่งตนเองทางสุขภาพของชุมชนได้ไม่ใช่สถานบริการที่มีคนไข้ค้างคืน หรือบริการเฉพาะผู้ป่วยนอก(Extended OPD) และมีระบบสนับสนุนจาก CUPสสจ.อปท. ชุมชนอย่างเข้มแข็ง

  14. เป้าหมายสูงสุดของรพสต.เป้าหมายสูงสุดของรพสต. ส่งเสริมประชาชน ชาวบ้านจัดการ สุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้ ทำให้ประชาชน ชาวบ้านมีสุขภาวะที่ดี รพสต.เป็นเครือข่ายที่สำคัญในการผลักดัน ให้เกิดระบบสุขภาพชุมชน มีคุณลักษณะบริการสุขภาพที่เข้าใจปัญหาสุขภาพ เข้าถึงวิถีชีวิตของชาวบ้าน หน่วยบริการเป็นที่ยอมรับ ไว้ใจจากชาวบ้านและชุมชน

  15. ภาคีหลักของระบบสุขภาพชุมชนภาคีหลักของระบบสุขภาพชุมชน หน่วยงานสาธารณสุข ประชาชน/องค์กรชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น หน่วยราชการ /องค์กรเอกชน

  16. ทิศทางของบทบาทเครือข่ายสุขภาพทิศทางของบทบาทเครือข่ายสุขภาพ บทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่น สาธารณสุข/หน่วยงานอื่นๆ บทบาทของชุมชน/องค์กรชุมชน

  17. เป้าหมายของระบบสุขภาพชุมชน(อ.ประเวศ)เป้าหมายของระบบสุขภาพชุมชน(อ.ประเวศ) • เด็กและครอบครัว • ผู้ด้อยโอกาสและถูกทอดทิ้ง • ผู้สูงอายุ • ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง • รักษาโรคเจ็บป่วยเล็กน้อย • ควบคุมโรค • ชุมชนสร้างสุขภาพ • เศรษฐกิจพอเพียง

  18. การมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชน เจ้าหน้าที่เป็นหลัก อสม.เป็นลูกมือ • รับรู้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพจากภาครัฐ • มีส่วนร่วมในการสื่อสาร กระจายข่าว • กรรมการพัฒนาสอ. (ระดมทุน เช่น ทอดผ้าป่า ฯลฯ) • เก็บข้อมูล เดินรณรงค์

  19. การมีส่วนร่วมประชาชน อย่างยั่งยืน • ประชาชน มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพของตนเอง • รู้สึกเป็นเจ้าของรพสต. และนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ • มีบทบาทหลักในจัดการปัญหาสุขภาพของชุมชน/ตัดสินใจได้ • เจ้าหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต.

  20. (Mindset) ทัศนคติที่เอื้อต่อการบริหารจัดการการมีส่วนร่วม ถ่อมตน (ตระหนักในคุณค่าของความคิด ความรู้ของชาวบ้าน โลกนี้มีหลายเรื่องที่เราไม่รู้) เรียนรู้ที่จะฟัง (ยอมรับในสิทธิในการให้ความคิดเห็นของประชาชน) ให้คุณค่ากับกระบวนการ (การพัฒนาเป็นกระบวนการ ไม่ใช่การทำงานให้เสร็จ ได้ผลผลิตเท่านั้น) เสริมอำนาจผู้อื่น (เน้นการเสริมสร้างความสมารถของผู้อ่อนแอให้เข็มแข็ง เข้ามีส่วนร่วมและค้นหาทางออกด้วยตนเองได้)

  21. ให้ข้อมูลข่าวสาร INFORM ตัด สิน ใจ เอง เข้าร่วมคณะทำงานด้วย สมัครใจเข้าร่วม ให้ความเห็น รับฟัง Public Participation Spectrum เสริมอำนาจประชาชน Empower ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve รับฟังความคิดเห็น Consult การมีส่วนร่วมของประชาชน

  22. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน(Public Participation Spectrum) เสริมอำนาจประชาชน Empower • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • การลงประชามติ • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • - คณะที่ปรึกษาภาคประชาชน • คณะกรรมการ • การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม ร่วมมือ Collaboration เกี่ยวข้อง Involve เทคนิคการมีส่วนร่วม: - สัมมนาเชิงปฏิบัติการ • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • - การสำรวจความคิดเห็น • การประชุม/เวทีสาธารณะ • ประชุมกลุ่มย่อย รับฟังความคิดเห็น Consult • เทคนิคการมีส่วนร่วม: • Fact Sheet • Websites • Open House ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform

  23. แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนแนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน การให้ข้อมูล การให้ความร่วมมือ การรับฟังความคิดเห็น การมีอำนาจตัดสินใจ การเข้ามีบทบาท

  24. There is no blueprint for public participation, No one method to follow

  25. กรอบแนวคิด รพ.สต. ร่วมคิด-ร่วมลงทุน-ร่วมสนับสนุน-ร่วมติดตาม จัดทำแผนบูรณาการสุขภาพตำบล รพ.สต. ผู้ให้บริการ ผู้จัดการ /เสริมพลัง ครอบคลุมกลุ่ม 5เป้าหมาย ตั้งแต่ในครรภ์มารดา-ถึงเชิงตระกอน ตามความจำเป็นเร่งด่วนปัญหาสุขภาพในพื้นที่และภาพรวม

  26. ปชช.มีสุขภาพที่ดี ปชช.พึ่งตนเองทางสุขภาพได้ รพสต ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ เพิ่มคุณภาพบริการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

  27. การพัฒนาคุณภาพบริการ 1.จัดทำแผนกำลังคนของรพ.สต โดย มีโครงการทศวรรษ พัฒนากำลังคน รพ.สต (สบช.) เพื่อผลิตเจ้าหน้าที่รพสตให้เพียงพอในการดำเนินการด้านสุขภาพดังนี้ 16,500 คน

  28. 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ.สต.และระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้ จนท. และเครือข่าย มีความพร้อม ด้านวิชาการในการให้บริการสุขภาพประชาชนตามภารกิจ 5 ด้าน (ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รักษาพยาบาลและ คุ้มครองผู้บริโภค) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - จัดทำคู่มือด้านสุขภาพสำหรับรพสต. 17 เล่ม - พัฒนาหลักสูตรอบรมครูพี่เลี้ยงจังหวัด 15 หลักสูตร - อบรมผู้จัดการหลักสูตรจังหวัด 2 คน รวม 150 คน - จัดสรรงบประมาณให้จังหวัดละ 50,000 บาท อำเภอละ 10,000 บาท

  29. เนื้อหาหลักสูตร 11 หลักสูตร (เดิมปี 53) และ 4 หลักสูตรใหม่ ดังนี้ หลักสูตรพื้นฐาน 6 หลักสูตร ได้แก่ 1) เวชศาสตร์ครอบครัวกับการจัดการ-ดูแลโรคเรื้อรัง 2) ทันตสุขภาพในชุมชน 3) การส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4) การคุ้มครองผู้บริโภค 5) การบริหารจัดการองค์กร/เครือข่าย และ 6) การจัดการความรู้ หลักสูตรเฉพาะ 5 หลักสูตร ได้แก่ 1) การฟื้นฟูสภาพในชุมชน 2) ระบบการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 3) การจัดบริการการแพทย์แผนไทยในรพ.สต. 4) การให้คำปรึกษา และ 5) อนามัยเจริญพันธุ์ หลักสูตรใหม่ 4 หลักสูตร ได้แก่ 1) การดูแลระยะสุดท้าย 2) การควบคุมโรคแบบง่ายๆ 3)EMS ในชุมชน. 4) การดูแลรักษาโรคง่ายๆ ในชุมชน

  30. Training พัฒนาหลักสูตร 15 หลักสูตร พัฒนาผู้จัดการหลักสูตร2 คน/จังหวัด จัดสรรงบประมาณ จังหวัดละ 5 หมื่นบาท อำเภอละ 1 หมื่นบาท

  31. 3 . การสร้างความเข้มแข็งทางสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและรพ.สต งบประมาณ จาก สสส. 3.1 ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินการแก่ เขต/จังหวัด/รพช. 3.2 สนับสนุนงบประมาณให้เงินจังหวัดตามโครงการที่ดำเนินการ พัฒนา 3.3 จังหวัด อำเภอ และรพสต. ดำเนินการพัฒนาระบบริการ สุขภาพตาม TOR จนได้นวัตกรรมสุขภาพ) ดำเนินการ ใน 4 รพ.สต.ที่จังหวัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำหนด 3.4 ศึกษาการพัฒนารูปแบบการสนับสนุนการดำเนินงานระหว่าง รพช. และรพ.สต (ได้ระบบและกลไกการดำเนินงานร่วมกัน ระหว่างรพช.และรพ.สต) ดำเนินการ 1 อำเภอ

  32. Leaning พัฒนา CBL ระดับอำเภอ 1 แห่ง/จังหวัด พัฒนา นวัตกรรม 4 แห่ง/จังหวัด รพ.สต. รพ.สต. ชุมชน ชุมชน รพ.สต. รพ.สต. ชุมชน ชุมชน จัดสรรงบประมาณ อำเภอละ 2 แสน จัดสรรงบประมาณ ชุมชนละ 1 แสน

  33. ติดต่อสื่อสารและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล http://bopc.moph.go.th/โทร. 0-2590-1851-2 โทรสาร 0-2590-1839

More Related