850 likes | 1.98k Views
การจัดการ เครื่องมือแพทย์. นโยบาย มีระบบบริหารเครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ อย่างมีประสิทธิภาพ. เป้าหมาย 1.เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ที่สำคัญมีปริมาณ เพียงพอต่อการบริการผู้ป่วยหนักและภาวะฉุกเฉิน 2.เครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ได้รับการดูแล และบำรุงรักษาและสอบเทียบ
E N D
การจัดการ เครื่องมือแพทย์
นโยบาย มีระบบบริหารเครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ อย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมาย 1.เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ที่สำคัญมีปริมาณ เพียงพอต่อการบริการผู้ป่วยหนักและภาวะฉุกเฉิน 2.เครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ได้รับการดูแล และบำรุงรักษาและสอบเทียบ 3.บุคลากรได้รับการฝึกอบรมในการใช้และดูแลผู้ป่วยที่เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ป่วย ได้รับการรักษาพยาบาลที่รวดเร็วเหมาะสม มีความปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ 2.เพื่อให้บุคลากรมีความสามารถในการใช้บำรุงรักษา และดูแลผู้ป่วยขณะใช้เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ได้อย่างเหมาะสม 3.เพื่อให้เครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ได้มาตรฐานมีความพร้อมใช้งานและมีอายุการใช้งานที่เหมาะสม
ดัชนีชี้วัด 1.ประสิทธิภาพการซ่อมบำรุงของช่างภายนอก การซ่อมซ้ำของเครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ภายใน 6 เดือน = 0 2.ระยะเวลาเฉลี่ยที่เครื่องมือไม่สามารถใช้งานได้ ≤ 4 เดือน 3.เครื่องมือวัดที่สำคัญได้รับการสอบเทียบ = 100% 4.ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ≥80 % 5.อุบัติการณ์การเกิดอันตรายจากการใช้เครื่องมือแพทย์= 0 6.อุบัติการณ์เครื่องมือชำรุดจากการใช้งานไม่ถูกต้อง= 0 7.อุบัติการณ์ความไม่พร้อมใช้ของเครื่องมือทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน=0 8.อุบัติการณ์ที่ยืมเครื่องมือไม่ได้=0 9.ค่าซ่อมเครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ ลดลง >10%
การดำเนินงานบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์โดยการดำเนินงานบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์โดย 1.คณะกรรมการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ มีแพทย์อายุรกรรมเป็นประธานและมีตัวแทนหอผู้ป่วยและหน่วยงานต่าง ๆ เป็นกรรมการ มีหน้าที่ในการดูแลบริหารจัดการเครื่องมือในภาพรวมของโรงพยาบาล พิจารณาในการจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ 2.คณะทำงานศูนย์เครื่องมือแพทย์ มีหัวหน้างานห้องผู้ป่วยหนักเป็นประธานและตัวแทนหอผู้ป่วยและหน่วยงานในกลุ่มการพยาบาลเป็นกรรมการ มีหน้าที่ในการดำเนินการของศูนย์เครื่องมือแพทย์ในการบริการให้ยืมเครื่องมือแพทย์ที่เข้าศูนย์เครื่องมือแพทย์ และบำรุงรักษาและส่งซ่อมเครื่องมือแพทย์ที่ชำรุด
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการกลุ่มงานอายุรกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอด ชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 5.เครื่องปั่น Hct. 6. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียง 4.โต๊ะคร่อมเตียง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการกลุ่มงานศัลยกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล ชุดเย็บแผล
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 5.เครื่องปั่น Hct. 6. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียง 4.โต๊ะคร่อมเตียง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการกลุ่มงานกุมารเวชกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1. 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล ชุดเปลี่ยนถ่ายเลือด 5.ตู้อบเด็ก 6.Radial warmer 7.Photo therapy
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 5.เครื่องปั่น Hct. 6. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียง 4.โต๊ะคร่อมเตียง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการกลุ่มงานสูติ-นรีเวชกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1. 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล 5.Radial warmer 6.Photo therapy
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.NST 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.เครื่องปั่น Hct. 4. เครื่องตรวจ DTX 5.เครื่องฟังหัวใจเด็ก (FHS) 6.Ultra sound
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียงคลอด 4.โต๊ะคร่อมเตียง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการกลุ่มงานศัลยกรรมกระดูก เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1. 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล 5.เตียงผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก(Basic flame) 6. Skin Tracion Skeletal Tracion skull Tracion
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล 5.เตียงผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก(Basic flame) 6. Skin Tracion Skeletal Tracion skull Tracion
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 5.เครื่องปั่น Hct. 6. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียง 4.โต๊ะคร่อมเตียง 5.รถเข็น/ไม้ค้ำยัน
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการห้องผู้ป่วยหนัก เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ชุดเจาะคอ 5.ออกซิเจน pipe line 6.Suction 7.Ambubag
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle Volume Controle 2.Infusion Pump. 3.Syringe Pump. 4.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดเจาะปอดชุดเจาะหลัง ชุดเจาะท้อง ชุดเจาะตับชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผล
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM+Central Monitor 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 5.เครื่องตรวจ ABG 6.เครื่องปั่น Hct. 7. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือ จากเตียงผู้ป่วย 3.เตียง 4.โต๊ะคร่อมเตียง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการอุบัติเหตุฉุกเฉิน เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ชุดเจาะคอ 5.ออกซิเจน pipe line 6.Suction 7.Ambubag
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle 2.Infusion Pump. 3.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดใส่ท่อระบายทรวงอกชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผลชุดเย็บแผล 6. อุปกรณ์ดามกระดูกภายนอก 7.ชุดผ่าตัดเล็ก 8.ชุดทำคลอดฉุกเฉิน
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.EKG recorder 6.เครื่องปั่น Hct. 7. เครื่องตรวจ DTX 8.Ophthalmoscope 9.Auroscope
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียงทำหัตถการ 5.รถ Ambulance ที่มีเครื่องช่วยหายใจและเครื่องช่วยชีวิตเบื้องต้นพร้อม
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการห้องคลอด เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction 6.Ambubag
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องช่วยหายใจชนิด Pressure Controle 2.Infusion Pump. 3.ชุดทำหัตถการเช่นCut Down ชุดสวนปัสสาวะ ชุดทำแผลชุดเย็บแผล 4.ชุดทำคลอด 5.เครื่องดูดสูญญากาศ ( Vacuum)ช่วยคลอด 6.คีมช่วยคลอด (Forceps)
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.เครื่องNST 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.เครื่องปั่น Hct. 5. เครื่องตรวจ DTX 6.เครื่องฟัง FHS 7.ค้อนเคาะความไวของเอ็นกล้ามเนื้อ 8.สายวัด
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือจากเตียงผู้ป่วย 3.เตียงคลอดที่สามารถปรับท่าผู้คลอดได้ 4.ไฟส่อง
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการห้องผ่าตัด เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ชุดเจาะคอ 5.ออกซิเจน pipe line 6.Suction 7.Ambubag
เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเครื่องมือที่ใช้ในการรักษา 1.เครื่องดมยาสลบ 2.Infusion Pump. 3.เครื่องมือผ่าตัด ทั่วไป เครื่องมือผ่าตัดกระดูก เครื่องมือผ่าตัดตา ผ่าตัดสูติกรรม 4.เครื่องจี้ 5. Pipline System ออกซิเจน Nitrous Oxide Vacuum
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.เครื่อง BSM 2.เครื่องวัดความดันโลหิต 3.O2 sat. 4.เครื่องปั่น Hct. 5. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.ระบบสื่อสารหรือสัญญาณขอความช่วยเหลือ จากเตียงผู้ป่วย 3.เตียงผ่าตัด 4.โคมไฟผ่าตัด 5.เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อฉุกเฉิน 6.เครื่อง X-ray เคลื่อนที่ 7.ระบบน้ำสะอาด
การกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วยการกำหนดเครื่องมือขั้นต่ำตามกลุ่มผู้ป่วย ที่เข้ารับบริการผู้ป่วยนอก เครื่องมือที่ใช้ในการช่วยชีวิต 1.รถเข็นช่วยชีวิต(Emergency Cart) 2.Defibrillator 3.Laryngoscope 4.ออกซิเจน pipe line 5.Suction 6.Ambubag
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวังเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย/เฝ้าระวัง 1.เครื่องวัดความดันโลหิต 2.O2 sat. 3. Ophthalmoscope 4. EKG recorder 5. เครื่องตรวจ DTX
เครื่องมือสนับสนุนอื่นเครื่องมือสนับสนุนอื่น 1.ตู้เย็นเก็บยา/เลือด 2.เปล/รถเข็น 3.เครื่องชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง
เครื่องมือที่หอผู้ป่วย/หน่วยงานต่าง ๆ ยืมจากศูนย์เครื่องมือแพทย์ 1.เครื่องช่วยหายใจ Pressure controle จำนวน 4 เครื่อง Volume Controle ชนิด Microtract 920 จำนวน 6 เครื่อง 2.Infusion pump. จำนวน 44 เครื่อง 3.Syringe Pump. จำนวน 8 เครื่อง 4.Ambu Bag จำนวน 25 ชุด
เครื่อง Debrillator 8 เครื่อง ที่สำรองไว้ที่หอผู้ป่วย/หน่วยงาน 1.ER 2 เครื่อง ใช้กับ หอผู้ป่วยพิเศษ5 ชั้น X-ray OPD ER 2.วิสัญญี 1 เครื่อง ใช้กับ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ANC 3. ห้องตรวจ Echo 1 เครื่องใช้กับ ไตเทียม กายภาพบำบัดแผนไทย 4.ไอ.ซี.ยู. 2 เครื่อง ใช้กับหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม NICU ศัลยกรรมกระดูก สงฆ์อาพาธ 5.หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 เครื่องใช้กับ หอผู้ป่วยศัลยกรรม 6.หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง 1 เครื่อง ใช้กับหอผู้ป่วยสูติ- นรีเวชกรรม
เกณฑ์การบำรุงรักษา 1.พิจารณาจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหน้าที่การทำงานของเครื่องให้ลำดับคะแนนจาก 0-5
ความเสี่ยง/หน้าที่การทำงาน คะแนน คนไข้เสียชีวิต /เครื่องช่วยชีวิต 5 คนไข้ได้รับอันตรายบาดเจ็บ /เครื่องมือที่สัมผัสโดยตรง 4 การตรวจวินิจฉัยผิดพลาด /เครื่องตรวจวิเคราะห์รักษา 3 มีความเสี่ยงต่ำมาก /เครื่องมือไม่สัมผัสโดยตรง 2 ไม่มีความเสี่ยง/อื่น ๆ 1 ไม่สามารถจำแนกได้ 0