1.04k likes | 3.98k Views
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น ( Working Drawing ). สัปดาห์ที่ 11. เนื้อหา ในสัปดาห์ที่ 11. การจัดเตรียมงานเขียนแบบ ชนิดของแบบใช้งานเบื้องต้น การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น. วัตถุประสงค์สัปดาห์ ที่ 11. เข้าใจถึงรูปแบบของแบบใช้งาน
E N D
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing) สัปดาห์ที่ 11
เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 11 • การจัดเตรียมงานเขียนแบบ • ชนิดของแบบใช้งานเบื้องต้น • การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น
วัตถุประสงค์สัปดาห์ที่ 11 • เข้าใจถึงรูปแบบของแบบใช้งาน • เข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่อยู่ในแบบใช้งาน เพื่อใช้ประกอบในการอ่านแบบ • สามารถเขียนแบบใช้งานเบื้องต้นได้
งานเขียนแบบ • งานเขียนแบบสามารถแบ่งประเภทได้ตามลักษณะงานที่ต้องใช้ • แบบที่ใช้สำหรับนำเสนอแนวคิด • แบบสำหรับกระบวนการผลิตหรือแบบใช้งาน
แบบที่ใช้สำหรับนำเสนอแนวคิด • แบบภาพสเก็ตซ์ทั้งแบบสองมิติและสามมิติ
แบบสำหรับกระบวนการผลิตหรือแบบใช้งานแบบสำหรับกระบวนการผลิตหรือแบบใช้งาน • ประกอบด้วย • แบบรายละเอียด (Detail Drawing) และ • แบบภาพประกอบ (Assembly Drawing)
ชนิดของแบบประกอบ • ขึ้นอยู่กับการใช้งาน มีดังนี้ • แบบภาพของการออกแบบภาพประกอบ (Design assemblies)
ชนิดของแบบประกอบ • ขึ้นอยู่กับการใช้งาน มีดังนี้ • แบบภาพประกอบใช้งาน (Working drawing assemblies) เป็นการรวมแบบรายละเอียดและแบบประกอบไว้ในภาพเดียวกันใช้ได้ในกรณีที่มีชิ้นงานที่ใช้ในการประกอบน้อยและภาพประกอบไม่ซับซ้อน
ชนิดของแบบประกอบ • ขึ้นอยู่กับการใช้งาน มีดังนี้ • แบบการติดตั้งการประกอบชิ้นงาน (Outline หรือ installation assemblies) แสดงถึงวิธีการติดตั้งหรือเมื่อติดตั้งแล้วชิ้นงานจะสามารถขยับได้อย่างไร ซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นแบบเค้าโคลง (Outline drawing) ก็ได้
ชนิดของแบบประกอบ • ขึ้นอยู่กับการใช้งาน มีดังนี้ • แบบตรวจสอบการประกอบชิ้นงาน (Check assemblies)เป็นการใช้แบบรายละเอียดของชิ้นส่วนต่างๆ มาสร้างเป็นภาพประกอบ (Check Assembly) หากขนาดและรูปร่างของชิ้นส่วนสามารถนำมาเขียนเป็นแบบภาพประกอบได้อย่างถูกต้อง
การเตรียมงานเขียนแบบ • เลือกขนาดกระดาษ
กระดาษชุด A ตามมาตรฐาน ISO กระดาษชุด A ตามมาตรฐาน ISO ขนาดของกระดาษเขียนแบบ • กระดาษตามมาตรฐาน ANSI • กระดาษชุด A ตามมาตรฐาน ISO
การเตรียมงานเขียนแบบ • ขนาดกระดาษที่นิยมใช้กันในปัจจุบันคือกระดาษขนาด 210 X 297 มม. หรือขนาด A4 ตามมาตรฐานสากล • หากชิ้นงานมีรายละเอียดมาก จะใช้กระดาษขนาด A4 หรือใหญ่กว่า • แสดงแบบรายละเอียดของแต่ละชิ้นส่วนลงในกระดาษโดยปกติแล้วจะแยกเป็น 1 ชิ้นงานต่อ 1 แผ่น • แยกแบบประกอบไว้ต่างหากอีกหนึ่งแผ่น หากเป็นไปได้ควรใช้มาตรส่วน (Scale) เดียวกันในทุกชิ้นงานตามความเหมาะสม
การพับกระดาษเขียนแบบตามาตรฐานการพับกระดาษเขียนแบบตามาตรฐาน
การพับกระดาษเขียนแบบตามาตรฐานการพับกระดาษเขียนแบบตามาตรฐาน
การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ในกระดาษเขียนแบบ • กรอบนอกของกระดาษเขียนแบบ
การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ในกระดาษเขียนแบบ • กรอบนอกของกระดาษเขียนแบบ
การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ในกระดาษเขียนแบบ • ตารางช่องรายละเอียด (Title Block) • ชื่อชิ้นส่วนที่เขียน • ชื่อหน่วยงานหรือชื่อและที่อยู่ของเจ้าของแบบ • มาตรส่วน • หมายเลขแบบ • มุมมองมาตรฐาน • 6. ลงชื่อผู้เขียน (Draft man) • 7. ลงชื่อผู้ออกแบบ (Designer) • 8. ลงชื่อผู้รับรองความถูกต้องของแบบตามมาตรฐาน • 9. วัน-เดือน-ปี ที่เขียนแบบ • 10.ค่าความคลาดเคลื่อนโดยทั่วไป (General Tolerance)
การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing) • แสดงภาพประกอบของชิ้นงานหรือเครื่องจักร ทำให้ทราบถึงตำแหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ ในเครื่องจักร • การแสดงภาพประกอบ ประกอบด้วย • การเลือกมุมมอง (Views) มุมมองที่ต้องการคือ มุมมองที่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของชิ้นงานแต่ละชิ้นได้อย่างสมบูรณ์ • การตัดภาพประกอบ (Sections) การตัดภาพช่วยให้แสดงรายละเอียดที่ซ่อนภายใน
การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing) • การตัดภาพประกอบ (Sections) ชิ้นส่วนที่ไม่ต้องเขียน section line คือ ชิ้นส่วนที่มีความกลม เช่น เพลา,bolts, nuts, keys, screw, pins, ball หรือ roller bearing และ ฟันเกียร์ เป็นต้น
การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing) • การแสดงภาพประกอบ ประกอบด้วย (ต่อ) • เส้นประ (Hidden lines) ในภาพประกอบมักจะไม่ลงเส้นประเพื่อป้องกันความสับสน แต่หากจำเป็นก็สามารถใส่เส้นประในบางที่ลงไปได้ • การบอกขนาด (Dimensions) ตามกฎแล้วจะไม่มีการบอกขนาดในภาพประกอบ เนื่องจากขนาดต่างๆ ของชิ้นงานแสดงในแบบรายละเอียดหมดแล้ว • วิธีการกำหนดชิ้นส่วนในภาพประกอบ (Identification) ส่วนใหญ่จะใช้หมายเลขเป็นตัวแทนของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น
การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing)
ตัวอย่าง การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing)
ตัวอย่าง การเขียนแบบรายละเอียด
ตัวอย่าง การเขียนแบบประกอบ
จบสัปดาห์ที่ 11 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning