1 / 19

รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551

รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551. วัตถุประสงค์. เสนอข้อมูลการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการขนส่งโรงพยาบาลหาดใหญ่ เสนอสัดส่วนผู้ป่วยและบาดเจ็บจากรถจักรยานยนต์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เพื่อประโยชน์การรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง. ข้อมูล.

Download Presentation

รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่งโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551

  2. วัตถุประสงค์ • เสนอข้อมูลการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการขนส่งโรงพยาบาลหาดใหญ่ • เสนอสัดส่วนผู้ป่วยและบาดเจ็บจากรถจักรยานยนต์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • เพื่อประโยชน์การรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง

  3. ข้อมูล ข้อมูลจาก : • งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ • ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา • งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประเภทข้อมูล : • โรงพยาบาลหาดใหญ่ - เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน : จำนวน เพศ - ผู้ป่วยรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนทั้งหมด ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ผู้ป่วยใน(รับไว้รักษาในโรงพยาบาล)โดยจำแนกจำนวน/เดือน เพศ อายุ และรถจักรยานยนต์ • โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : สัดส่วนจำนวนผู้ป่วย และรถจักรยานยนต์

  4. โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน : • 10 คน ชาย 5 คน หญิง 5 คน ผู้ป่วยทั้งหมด 6,969 ราย เฉลี่ย 581 ราย/เดือน จำแนก : • ชาย 62% (4,304/6,969) • หญิง 38% (2,665/6,969) • รถจักรยานยนต์ 80% (5,597/6,969) • อายุ <35 ปี 73% (5,089/6,969)

  5. ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551: ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : จำนวนผู้ป่วยแต่ละเดือนอยู่ในระดับใกล้เคียงกัน และไม่มีเดือนที่เด่น ไม่ขึ้นกับเทศกาลปีใหม่ และสงกรานต์

  6. ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551: จยย./เดือน จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนรถจักรยานยนต์ต่อผู้ป่วยรายเดือน ระหว่าง 69% (ก.ย.)-86% (ม.ค.) หมายเหตุ : %= จยย.ทั้งหมดของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น

  7. ผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551: อายุ ชาย/หญิง/จำนวน จำนวน ข้อคิดเห็น : 53% อายุ < 25 ปี และ 73% อายุ< 35 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงทุกช่วงอายุหมายเหตุ %= จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

  8. โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) 4,427 ราย เฉลี่ย 369 ราย/เดือน จำแนก : • ชาย 57% (2,534/4,427) • หญิง 43% (1,893/4,427) • รถจักรยานยนต์ 81% (3,607/4,427) • รถจักรยานยนต์ ชาย 56% (2,025/3,607) • อายุ < 15 ปี 18% (789/4,427) • อายุ < 35 ปี 77% (3,384/4,427)

  9. ผู้ป่วยนอก ปี 2551: ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : สัดส่วนชายบาดเจ็บระหว่าง 54% (พ.ค.)-61% (มี.ค.) เฉลี่ย = 57% ซึ่งสูงกว่าหญิงทุกเดือน แต่ยังไม่เด่นชัดหมายเหตุ : % = จำนวนชายของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น

  10. ผู้ป่วยนอกปี 2551 : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนจยย.ของเดือนต่อผู้ป่วยรายเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 69% (กย.)-86% (มค.)เฉลี่ย = 81% สัดส่วนจยย.ชายของเดือนต่อจยย.ของเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 53% (พย.)-60% (มีค.) เฉลี่ย = 56%

  11. ผู้ป่วยนอกปี 2551 : อายุ หญิง/ชาย/จำนวน จำนวน ข้อคิดเห็น : 57% อายุ < 25 ปี และ 77% อายุ < 35 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงทุกช่วงอายุหมายเหตุ %= จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

  12. โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551 ผู้ป่วยใน(รับไว้รักษาในโรงพยาบาล) 2,542 ราย เฉลี่ย 212 ราย/เดือน จำแนก : • ชาย 70% (1,770/2,542) • หญิง 30% (772/2,542) • รถจักรยานยนต์ 78% (1,990/2,542) • รถจักรยานยนต์ ชาย 68% (1,359/1,990) • อายุ < 35 ปี 67% (1,707/2,542) • อายุ > 45 ปี 17% (443/2,542) หมายเหตุ : ไม่มีข้อมูลของผู้ป่วยรับไว้รักษาแล้วเสียชีวิต

  13. ผู้ป่วยใน ปี 2551: ชาย/หญิง/เดือน จำนวน ข้อคิดเห็น : ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิงมาก สัดส่วนชายต่อเดือน ระหว่าง 65% (ก.ย.)-77% (ก.ค.) เฉลี่ย = 70%หมายเหตุ : % = จำนวนชายของเดือน/จำนวนผู้ป่วยของเดือนนั้น

  14. ผู้ป่วยในปี 2551 : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด จำนวน ข้อมูล : สัดส่วนจยย.ของเดือนต่อผู้ป่วยรายเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 70% (กย.)-87% (เมย.)เฉลี่ย = 78% สัดส่วนจยย.ชายของเดือนต่อจยย.ของเดือนในเดียวกัน ระหว่าง 50% (ธค.)-77% (กค.) เฉลี่ย = 68%

  15. ผู้ป่วยในปี 2551 : อายุ หญิง/ชาย/จำนวน จำนวน ข้อคิดเห็น : ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง 2 เท่า ยกเว้นกลุ่มอายุระหว่าง 15-25 ปี ชายมีสัดส่วนสูงกว่าหญิง 3 เท่าหมายเหตุ %= จำนวนของอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

  16. รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา และรพ.สงขลานครินทร์ ผู้ป่วยทั้งหมดปี 2551 : เปรียบเทียบข้อมูลรายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ • 6,969 ราย เฉลี่ย 581 ราย/เดือน • จักรยานยนต์80% (5,597/6,969) โรงพยาบาลสงขลา • 4,305 ราย เฉลี่ย 359 ราย/เดือน • จักรยานยนต์ 81% (3,497/4,305) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • 3,981 ราย เฉลี่ย 332 ราย/เดือน • จักรยานยนต์ 78% (3,1096/3,981)

  17. เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551 : รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.สงขลานครินทร์ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพฤศจิกายน มีสัดส่วนผู้ป่วยค่อนข้างต่ำทั้ง 3 โรงพยาบาลหมายเหตุ : %= จำนวนผู้ป่วยของเดือน/จำนวนค่าเฉลี่ยต่อเดือนของโรงพยาบาล เดียวกัน

  18. เปรียบเทียบบาดเจ็บจากรถจักรยายนต์ทั้งหมด ปี 2551 : รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.สงขลานครินทร์ % ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน หมายเหตุ : %= บาดเจ็บจากรถจักรยานยนต์ทั้งหมดรายเดือน/จำนวนค่าเฉลี่ยต่อเดือน ของโรงพยาบาลเดียวกัน

  19. สรุป กลุ่มเสี่ยง : เพศชาย • 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล เป็นชาย กลุ่มเสียง : รถจักรยานยนต์ • 7 ถึง 8 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บมาจากรถจักรยานยนต์ กลุ่มเสี่ยง : อายุ < 35 ปี • 7 ใน 10 ราย บาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล • 8 ใน 10 ราย บาดเจ็บที่รักษาแล้วกลับบ้าน

More Related