html5-img
1 / 27

 คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (PTC)  คณะอนุกรรมการความคลาดเคลื่อนทางยาเพื่อความ

 คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (PTC)  คณะอนุกรรมการความคลาดเคลื่อนทางยาเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย ( คณะอนุกรรมการ M E)  คณะกรรมการพัฒนาระบบยา. บทบาทหน้าที่รับผิดชอบ. โครงสร้างของกรรมการ. นโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยระดับชาติ 2550- 2551.

asabi
Download Presentation

 คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (PTC)  คณะอนุกรรมการความคลาดเคลื่อนทางยาเพื่อความ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (PTC) คณะอนุกรรมการความคลาดเคลื่อนทางยาเพื่อความ ปลอดภัยของผู้ป่วย (คณะอนุกรรมการ ME)  คณะกรรมการพัฒนาระบบยา

  2. บทบาทหน้าที่รับผิดชอบบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ

  3. โครงสร้างของกรรมการ

  4. นโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยระดับชาติ 2550- 2551 • การป้องกันการติดเชื้อจากการรักษาพยาบาล– Clean care is safer care : Clean hand, Clean care (ป้องกัน VAP), Clean equipment • ความปลอดภัยด้านยา (Medication Safety) 2.1 การลดความคลาดเคลื่อนทางยา 2.2 การป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการใช้ยา 2.3 การลดอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง/ การแพ้ยาซ้ำ 2.4 การพัฒนาระบบการรวบรวมและจัดการความรู้ กรณีเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทางยา 2.5 การพัฒนาเครือข่ายโรงพยาบาล “ ยาปลอดภัย ผู้ป่วยปลอดภัย” คำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ 803/2550 วันที่ 10 ก.ย.2550

  5. นโยบายความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชนโยบายความปลอดภัยด้านยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ผู้ป่วยของโรงพยาบาลจะต้องได้รับความปลอดภัยจากการใช้ยา โดยมีระบบความปลอดภัยด้านยาดังต่อไปนี้ 1. ระบบการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 2. ระบบการดักจับและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา 3. ระบบการเฝ้าระวังและติดตามการใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง 4. ระบบดูแลความต่อเนื่องของการใช้ยาทุกรอยต่อของการส่งต่อผู้ป่วย 5. การดูแลให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

  6. จุดเน้นในการพัฒนาระบบยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราชจุดเน้นในการพัฒนาระบบยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช โครงการรณรงค์ระบบยา ปี 2550 พัฒนาต่อเนื่อง ในปี 2551 - 2552 1. การดูแลยาเดิม (Medication Reconciliation) บันทึกประวัติแรกรับ 2. การเฝ้าระวังและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาการรายงาน+การจัดการ+การป้องกัน 3. การติดตามการใช้ยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) clinical parameter 4. การเฝ้าระวังยาที่ทำให้เกิด ADR รุนแรง/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 5. การพัฒนาระบบยาสำรองหอผู้ป่วย  IV fluids  พัฒนาระบบการกระจายยา

  7. ระบบการจัดการด้านยา

  8. แนวทางการคัดเลือกยา • กรอบบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลไม่เกิน 750 รายการ(ED:NED 70:30) • ยา 1 รูปแบบ + 1 ความแรง นับเป็น 1 รายการ • ยา 1 รายการ คัดเลือกเพียง 1 บริษัท • การคัดเลือกรายการยาพิจารณาจาก ความจำเป็นในแต่ละกลุ่มโรค/ อ้างอิงบัญชียาหลักแห่งชาติ/ ข้อมูลยาตามหลักฐานทางวิชาการ • การพิจารณายาใหม่เข้าบัญชียาโรงพยาบาล ต้องมีการทบทวนข้อบ่งใช้ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เปรียบเทียบราคา/ ประสิทธิภาพ/ ประสิทธิผลกับยากลุ่มเดียวกันที่มีในโรงพยาบาล หรือที่มีจำหน่ายในประเทศไทย โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา (ยาตัวอย่างยังมีผลการประเมินไม่ชัด) • คณะกรรมการคัคเลือกยาและบริษัทยา ได้แก่คณะอนุกรรมการ PTC เป็นผู้จัดทำข้อมูล นำเสนอคณะกรรมการ PTC

  9. แนวทางการจัดซื้อยา 1. ปฏิบัติตามกฎหมาย/ ระเบียบว่าด้วยการพัสดุของสำนักนายกฯ 2. มีคณะกรรมการทบทวนบัญชีคู่ค้าอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 3. การจัดซื้อต้องคำนึงถึงรูปแบบ/ ลักษณะของยา เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาให้มากที่สุด 4. อัตรายาคงคลังไม่เกิน 1.5 เดือน 5. มีแนวทางจัดซื้อยาเวลาเร่งด่วน 6. ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข • จัดซื้อยารวมเขต/ จังหวัด ประมาณร้อยละ 20 ของงบจัดซื้อยา • จัดซื้อยาที่องค์การเภสัชกรรมผลิต/จำหน่าย ประมาณร้อยละ 7 ของงบจัดซื้อยา • ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร

  10. แนวทางการทำ DUE • มีการกำหนดรายการยาที่ต้องทำ DUE (ยาปฏิชีวนะ 8 รายการ+ ยาทั่วไป 5 รายการ) • มีการเก็บข้อมูลการสั่งใช้ยาแบบ concurrent • มีการนำ antibiogram มาประกอบการพิจารณาการคัดเลือกยาที่ต้องทำ DUE และการประเมินผลการใช้ยา • มีการสรุปผลการประเมิน DUE / นำไปใช้ประโยชน์ และกำหนดเป็น Practice Guideline ในการใช้ยาของโรงพยาบาล

  11. การดูแลยาสำรองหอผู้ป่วยการดูแลยาสำรองหอผู้ป่วย 1. บัญชีรายการยาสำรองหอผู้ป่วย ต้องมีรายการยาน้อยที่สุด เท่าที่จำเป็นต้องใช้ในภาวะเร่งด่วน ได้แก่ antidotes/ ยาที่ใช้เวลามีอาการ 2. ห้ามสำรอง KCl inj. ในหอผู้ป่วย 3. เมื่อมีการนำยาสำรองหอผู้ป่วยใช้กับผู้ป่วย ต้องเขียนสั่งยาในชื่อผู้ป่วยคืนในตู้เก็บยาสำรองหอผู้ป่วย 4. พยาบาลผู้รับผิดชอบยาสำรองหอผู้ป่วยต้องตรวจสอบรายการและจำนวนยาให้ตรงบัญชี อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 5. เภสัชกรประจำหน่วยจ่ายต้องร่วมกับพยาบาลในการสำรวจยาสำรองหอผู้ป่วยทุก 2 เดือน 6. ยารถ Emergency(CPR)ห้องยาจะจัดแลกให้กับทางหอผู้ป่วยทุก 2 เดือน 7. ทุกหอผู้ป่วยทบทวนบัญชีรายการยาสำรองหอผู้ป่วยผ่าน PCT ปีละ 1 ครั้ง

  12. การดูแลยาเสพติดให้โทษการดูแลยาเสพติดให้โทษ 1. หน่วยจ่ายยา และหอผู้ป่วยที่มีการสำรองยาเสพติดให้โทษ ต้องเก็บยาในตู้ หรือ ลิ้นชักที่มีกุญแจล็อคเพื่อไม่ให้เข้าถึงยาได้โดยง่าย/ และควรมีระบบการเก็บกุญแจ 2. การเบิก-จ่ายต้องมีการตรวจสอบอย่างรัดกุม มีการส่งต่อจำนวนคงเหลือที่ถูกต้องตามบัญชี ทุกเวร 3. ยาเสพติดฯ ที่ต้องเขียนใบ ยส.5 ได้แก่ Morphine, Pethidine, Fentanyl, Cocaine, Codeine * Morphine inj, Pethidine inj จ่ายครั้งละไม่เกิน 4 amp/ยส.5 1 ใบ ยกเว้น ผู้ป่วย ICU/ หอผู้ป่วยโทร.มาขอเพิ่มเป็นรายๆ แต่จ่ายสูงสุดไม่เกิน 6 amp/ยส.5 1 ใบ

  13. แนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำแนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 1. แพทย์ จะต้องดูประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ก่อนสั่งจ่ายยา หากตั้งใจจะสั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติการแพ้ ด้วยเหตุผลทางการรักษา ให้ระบุให้ชัดเจนในใบสั่งยา 2. พยาบาล จะต้องถามประวัติการแพ้ยา หรือดูประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกรายก่อนการบริหารยาให้แก่ผู้ป่วย หากพบประวัติการแพ้ยารายใหม่ -กรณีผู้ป่วยนอกให้ส่งผู้ป่วยมาพบเภสัชกรทุกครั้งเพื่อเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์และเปลี่ยนปกเวชระเบียน -กรณีผู้ป่วยในให้พยาบาลโทรศัพท์แจ้งเภสัชกรประจำตึกไปสัมภาษณ์ประวัติแพ้ยาและเก็บข้อมูลให้ผู้ป่วย

  14. แนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำแนวทางการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ 3. เภสัชกร --> ก่อนจ่ายยาเภสัชกร จะถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกราย - หากพบผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาที่ยังไม่มีข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เภสัชกรจะสัมภาษณ์และเก็บประวัติแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ เพื่อเตือนไม่ให้สั่งยาที่แพ้ซ้ำ พร้อมแนะนำผู้ป่วยให้นำเวชระเบียนมาเปลี่ยนปกเวชระเบียนเป็นสีชมพู - หากไม่สามารถสืบหาชื่อยาที่แพ้ได้ เภสัชกรจะไม่บันทึกแพ้ยาในคอมพิวเตอร์และไม่มีการเปลี่ยนปกเวชระเบียนเป็นสีชมพู

  15. ข้อกำหนดในการการสั่งใช้ยาข้อกำหนดในการการสั่งใช้ยา • ใบสั่งยามีข้อมูลที่จำเป็นได้แก่ น้ำหนักผู้ป่วยเด็ก, ภาวะตั้งครรภ์, การวินิจฉัย, ประวัติการแพ้ยา • เขียนชื่อยา, ความแรง, ขนาด วิธีการใช้ และจำนวนให้ชัดเจน (ห้ามเขียน RM, ยาเดิม) • กำหนดรายการยาที่ห้ามสั่งเป็นสัดส่วน

  16. ข้อกำหนดในการสั่งใช้ยาข้อกำหนดในการสั่งใช้ยา • ระบุ stat doseเมื่อต้องการให้ผู้ป่วยรับยาทันที • การสั่งยาทางโทรศัพท์ให้เซ็นชื่อกำกับภายใน 24 ชม. • มีระบบ automatic stop orderสำหรับยาบางรายการ/ บางกลุ่มเช่น Aminoglycosides • กำหนดรายการยาที่ห้ามใช้ชื่อย่อ

  17. แนวทางการจ่ายยา • เภสัชกรเห็นคำสั่งแพทย์โดยตรง (ใช้ copy ของ doctor order sheet/DOS) • ระบบ daily dose ทุกหอผู้ป่วย • มีแนวทางการจ่ายยา stat dose • มีแนวทางการจัดการยาที่ผู้ป่วยนำมาเอง (Flow การดูแลยาเดิม OPD/IPD) • มีแนวทางการคืนยา • กำหนดรายการยาสำรองบนหอผู้ป่วยร่วมกับ PCT พร้อมทั้งแนวทางการเก็บรักษา ดูแล ตรวจสอบ

  18. แนวทางการจัดการยา HAD 1. กำหนดรายการยา common HAD/ specific HAD 2. กำหนดแนวทางการจัดการยา common HAD/ specific HAD - การคัดเลือก 1 รายการ มี 1 ความแรง / รูปแบบบรรจุภัณฑ์ต่างกัน - การสั่งใช้ – งดใช้คำย่อ - การจ่ายยา – มีฉลากแนะนำการเฝ้าระวังแนบพร้อมยาทุกครั้งที่จ่าย - ติดสัญลักษณ์ (sticker HAD) ที่ขวดยา/ ซองยาทุกขวด/ ซอง (ยาที่เป็น common HAD) - การบริหารยา – เก็บยาในที่เข้าถึงยาก - ติดสัญลักษณ์ (sticker HAD) ที่ขวดยา/ ซองยาทุกขวด/ ซอง (ยาที่เป็น specific HAD) - มีระบบการตรวจสอบซ้ำในการผสม/ เตรียมยา - เฝ้าระวังตามข้อกำหนด -

  19. การเฝ้าระวัง Fatal Drug Interaction Fatal Drug Interaction หมายถึง drug interaction ที่มีความรุนแรง และอาจทำให้ถึงตายได้ในผู้ป่วยบางราย คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดจึงกำหนดให้คู่ยาของโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช คู่ต่อไปนี้เป็นคู่ยาที่ห้ามใช้ร่วมกันเนื่องจากอาจเกิด fatal drug interaction หากจำเป็นต้องใช้ จะต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

  20. การเฝ้าระวังยาที่ติด SMP  ยาที่ติด SMP หมายถึงยาที่อยู่ในโครงการเฝ้าระวังความปลอดภัย (Safety Monitoring Program) ของสำนักงานคณะกรรมการอาการและยา เนื่องจากเป็นยาใหม่ที่ขึ้นทะเบียนในประเทศไทยไม่ถึง 2 ปี หรือครบ 2 ปีแล้วแต่อยู่ในระหว่างการขออนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อปลด SMPและขึ้นทะเบียนเป็นยาที่จำหน่ายได้ตามปกติ  ในบัญชียารพ. มี 1 รายการ + ยาเฉพาะ case 1 รายการ/ ร้านขายยามูลนิธิ มี 34 รายการ  แพทย์ผู้สั่งใช้ยาจะต้องติดตามความปลอดภัยจากการใช้ยาดังกล่าวและมีการกำหนดรายการยาที่จะต้องให้ผู้ป่วยเซ็นยินยอมการใช้ยาดังกล่าว (Informed Concent)

  21. ระบบการกระจายยา กลุ่มงานเภสัชกรรม ยาที่สั่งซื้อ ยาที่ผลิตเอง 1. คัดเลือกยา(ผ่านPTC) 1. งานผลิต 2. จัดซื้อ - ยาทั่วไป/ ยาปราศจากเชื้อ/ TPN/ 3. เก็บยา (FIFO)เคมีบำบัด/Extemporaneous preparation 4. จ่ายยาจากคลัง (FIFO) 2. ควบคุมคุณภาพ 5. คลังยาย่อย (FIFO) - ส่งตรวจวิเคราะห์ 6. prepack + label+ sticker HAD 3. ส่งรับเข้าคลัง/ส่งมอบหน่วยจ่าย พร้อมจ่าย

  22. ระบบการกระจายยา (ต่อ) งานจ่ายยา • รับใบสั่งยา/DOS + ถามประวัติการแพ้ยา (100 % ที่หน่วยจ่าย) • คัดกรองปัญหาที่อาจพบจากคำสั่งใช้ยา (OPD screen คำสั่งใช้ยาทางคอมพิวเตอร์ เพราะพบปัญหาความคลาดเคลื่อนจากการสั่งยา RM บ่อย ๆ/ IPD เภสัชกรอ่าน DOS ก่อน key comp.) • Key comp เพื่อคิดราคายา + พิมพ์ฉลากยา (IPD ทำ Drug Profile ในรูป Med. Sheet / OPD- ทำระบบ refill สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังนอก CUP) • จัดยา / สั่งเตรียมยา(กรณีเป็นยา extemporaneous ที่ใช้ไม่บ่อย) • ตรวจสอบยา • OPD - เภสัชกรส่งมอบยา + ให้คำแนะนำ IPD – ส่งรถจัดยา

  23. ระบบการกระจายยา (ต่อ) พยาบาลเภสัชกร • ตรวจสอบยาที่ได้รับกับ DOS ข้อมูล KM • เตรียมยา + label ยาที่เตรียม - ข้อมูลยาห้ามบด/ ห้ามแบ่ง/ห้ามเคี้ยว • บริหารยา + double check - การใช้สารน้ำ / IV incompatibility • ลงเวลาให้ยา real time - การเตรียมยาที่ให้ยาทางสายยาง • บันทึกผลจากการใช้ยา - ความคงตัวของยา multiple doses - clinical parameter ที่สำคัญ - ข้อมูลการเตรียมยา small doses ที่เกี่ยวข้องกับผลของการใช้ยา - ยาที่ต้องเก็บให้พ้นแสง/ เก็บในตู้เย็น ในผู้ป่วยรายนั้น (เน้น HAD) - จัดหาอุปกรณ์เตรียมยา/ เก็บยา/ รถเข็น 6. IV admixtures - SUPERVISOR

  24. ระบบการกระจายยา (ต่อ) แพทย์ เภสัชกร 1. สั่งใช้ยาโดยพิจารณาจาก ข้อมูลยา - โรค/ สภาพผู้ป่วย - บัญชีรายการยา - ดูประวัติการแพ้ยา/ ข้อมูล DI ประกอบ - ระเบียบการสั่งใช้ยา – ED/ NED/ Restricted antibiotics/ RD - ยาที่มีประสิทธิภาพคุ้มราคา - Indication - สิทธิการสั่งใช้ยา : extern/ intern/ staff - Standard dose/ dosage interval 2. การสั่งยาอย่างชัดเจน - Maximum dose/ therapeutic range - ชื่อยา/ ความแรง/ ขนาดยา/ มียาที่ใช้ต่อเนื่อง ? - DI – Contraindication + fatal - dosage interval/ route/ จำนวนยา - ประวัติการแพ้ยา - ยาฉีดระบุขนาดยาเป็น mg/ ถ้า drip ระบุสารน้ำให้ชัด - ยาที่ติด SMP ว่าผสมเท่าไร/ ความเข้มข้นสุดท้าย/ อัตราเร็วที่ให้ - ยาที่มีอาการแพ้รุนแรง - คำสั่งใช้ยาชัดเจน/ ไม่สั่ง RM/ไม่สั่งด้วยตัวย่อที่ไม่สากล - ยาที่ต้องระวังในผู้ป่วย G-6-PD - การสั่งยาทางโทรศัพท์ ต้องมีการทวนชื่อซ้ำและ - High alert drugs แพทย์มาเซ็นกำกับภายใน 24 ชม. - ข้อมูลการใช้ยา warfarin - การ off ยา ใน DOS วันปัจจุบัน ฯลฯ 3. ติดตามผลการใช้ยา อื่นๆ: - ประเมินผลการรักษาด้วยยา - ปรับปรุง HosXpให้ใช้งานสะดวก - อาการข้างเคียง - ส่งเสริมการ Key com โดยแพทย์ - ปรับเปลี่ยนการรักษา/ สั่งใช้ยาต่อ/ หยุดยา automatic stop order

  25. ภาพฝันของระบบกระจายยาภาพฝันของระบบกระจายยา มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการระบบยาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งทางด้านการสั่งใช้ การจ่ายยา และการบริหารยา *** แพทย์ Order ทางคอมพิวเตอร์  Drug Profile จากห้องยา  Med. Sheet ของพยาบาล มีระบบ intranet ที่มีข้อมูลครบถ้วน/ เอื้อต่อการดูแลผู้ป่วยทางด้านการใช้ยา

  26. การติดตามผลการรักษาด้วยยาการติดตามผลการรักษาด้วยยา แพทย์ – outcome ของการรักษา • Good response or fail/ Side effect/ ADR/ Drug use evaluation / การสั่ง antibiotics โดยใช้ผล C/S • การปรับเปลี่ยนแผนการรักษา/ สั่งทำ TDM • ระบุการใช้ยาเดิมต่อเนื่องของผู้ป่วย/ คำสั่งหยุดยา/ automatic stop order/ เฝ้าระวัง ME  IR พยาบาล – บันทึกทางการพยาบาล - อาการผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับ drug response : BP/ HR/ RR/ consciousness etc. - การรายงานแพทย์ / การเฝ้าระวัง ME  IR / ช่วยลงประวัติยาเดิมในแบบบันทึกยาเดิม เภสัชกร – การเฝ้าระวัง เชิงรับ/ เชิงรุก - ติดตาม ADR – spontaneous report - by tracer agents / specific group of patient(serious ADR+ G-6-PD) - แปลผล TDM + เสนอแนะการปรับ/ เปลี่ยนยา - DUE monitoring (concurrent) ขาดความครอบคลุมในการประเมินและนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ - Medication Reconciliation(ความต่อเนื่องของคำสั่งใช้ยา : แรกรับ ย้าย ward  discharge  refer to other hospital or follow up at OPD) : print ใบสรุปรายการยาให้ผู้ป่วยที่ D/C ทุกราย

  27. ภาพฝันของระบบการดูแลผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาราช ฯ การประเมินผลการรักษาร่วมกัน โดยทีมสหวิชาชีพ แพทย์ / infectious specialist/ ทันตแพทย์/ พยาบาล/ เภสัชกร/ โภชนากร/ นักกายภาพบำบัด/ นักจิตวิทยา/ นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ Grand round or Case Discussion ร่วมกัน

More Related