1 / 32

AET 323 การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาการเกษตร ( Community and Agricultural Development)

AET 323 การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาการเกษตร ( Community and Agricultural Development) บทที่ 4 การเกษตร( Agriculture). รศ.ดร. สุรพล เศรษฐบุตร ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตรคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

marek
Download Presentation

AET 323 การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาการเกษตร ( Community and Agricultural Development)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AET 323 การพัฒนาชุมชนและการพัฒนาการเกษตร (Community and Agricultural Development) บทที่ 4 การเกษตร(Agriculture) รศ.ดร.สุรพล เศรษฐบุตรภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตรคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Suraphol Sreshthaputra

  2. จุดกำเนิดการเกษตรสาเหตุที่มนุษย์เริ่มทำการเกษตร - จำนวนประชากรมนุษย์เพิ่มมากขึ้น - การทำการเกษตรถือเป็นความสำเร็จ ของมนุษย์ในยุคแรก (ยุค Neolithic ประมาณ 12,000 – 5,000 BC.) - การทำการเกษตรให้ความมั่นคง (Security) และความ ร่วมมือกัน (Sociability) - การทำการเกษตรเป็นการหลีกเลี่ยงความหิวโหย Suraphol Sreshthaputra

  3. ความหมายของการเกษตร (Agriculture) มาจากภาษาลาติน Agri + CultureAgri หมายถึง Field หรือทุ่งกว้างCultureหมายถึง Cultivationการเขตกรรม การเกษตร หมายถึง การปลูกพืช (Domesticated Plant) และการเลี้ยงสัตว์ (Domesticated Animal) เพื่อใช้ในการดำรงชีวิตโดยมนุษย์มีบทบาทที่สำคัญในการดำเนินกิจกรรม Suraphol Sreshthaputra

  4. Cultivationเป็นกระบวนการปลูกขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และการดูแลรักษาที่ผ่านกระบวนการ “Domestication” มาแล้ว หรือเป็นกระบวนการสร้างแวดล้อมใหม่ ซึ่งเปลี่ยนไปจากสภาพแวดล้อมเดิมในป่า Suraphol Sreshthaputra

  5. วัตถุประสงค์ของการทำการเกษตรวัตถุประสงค์ของการทำการเกษตร 1) มีความแตกต่างกันตั้งแต่ ระดับเกษตรกร ถึง ระดับชาติ • ระดับเกษตรกร - เพื่อยังชีพ - เพื่อรายได้ – เพื่อสภาพแวดล้อม • ระดับชาติ - เพื่อมีอาหารพอเลี้ยงประชากร – เพื่อส่งออกนำรายได้เข้าประเทศ Suraphol Sreshthaputra

  6. ระดับชาติ- เพื่อมีอาหารพอเลี้ยงประชากร – เพื่อส่งออกนำรายได้เข้าประเทศ Suraphol Sreshthaputra

  7. วัตถุประสงค์ของการทำการเกษตรวัตถุประสงค์ของการทำการเกษตร 2) มีความแตกต่างกันในช่วงเวลา จากอดีตถึงปัจจุบัน • อดีต - เพื่อยังชีพ เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้า เพื่อรายได้ • ปัจจุบัน - เพื่อรายได้ เพื่อสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน - เพื่อสภาพแวดล้อมและเศรษฐกิจพอเพียง 3) มีความแตกต่างกันในด้านของผู้รับประโยชน์ • ผู้รับประโยชน์- เป็นเกษตรกร เพื่อยังชีพ รายได้ - เป็นรัฐบาล เพื่อส่งออก เพื่อการมีงานทำ - เป็นเจ้าของโรงงาน เพื่อวัตถุดิบ Suraphol Sreshthaputra

  8. อดีต - เพื่อยังชีพ เพื่อแลกเปลี่ยนสินค้า เพื่อรายได้ Suraphol Sreshthaputra

  9. วัตถุประสงค์ของการทำการเกษตรวัตถุประสงค์ของการทำการเกษตร 4) มีความแตกต่างในรูปแบบการทำการเกษตร • การเกษตรพื้นบ้าน - เพื่อยังชีพ - เพื่อออม -เพื่อเป็นปุ๋ย -เพื่อพิธีกรรม- เพื่อสิ่งจำเป็นอื่น ๆ • การเกษตรสมัยใหม่ - เพื่อเงินสด –เพื่อคุณภาพชีวิต เพื่อคุณค่าทางเศรษฐกิจ • การเกษตรยั่งยืน - เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม - เพื่อลดความเสี่ยงจากความเสียหายจากภัยธรรมชาติ - เพื่อความสมดุลของระบบนิเวศ เพื่อเศรษฐกิจพอเพียง Suraphol Sreshthaputra

  10. ลักษณะธรรมชาติของการเกษตรลักษณะธรรมชาติของการเกษตร • การเกษตรเป็นวิทยาศาสตร์ • เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ • เป็นสหสาขาวิชา (Multi-disciplinary) • เป็นระบบนิเวศ (Ecosystem) หรือเรียกว่า ระบบเกษตรนิเวศ “Agroecosystem”หมายถึง ระบบเกษตรนิเวศที่มีการทำการเกษตรเป็นวัตถุประสงค์หลัก Suraphol Sreshthaputra

  11. คุณสมบัติโดยรวมของการเกษตร (System Property) • ผลิตภาพ (Productivity)หรือ ความสามารถในการผลิตวัดจากผลผลิตของระบบนั้น • เสถียรภาพ (Stability)ความมั่นคงของผลผลิตที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม • เสมอภาค (Equitability)การกระจายของผลผลิต รายได้ • ความยั่งยืน (Sustainability)ความสามารถของระบบที่ยังรักษาระดับของผลผลิต Suraphol Sreshthaputra

  12. ผลกระทบจากมนุษย์ต่อการเกษตรผลกระทบจากมนุษย์ต่อการเกษตร • ปัจจัยทางสังคมและการเมือง เช่น ระบบเหมืองฝาย ระบบการถือครองที่ดิน มรดก ระบบทางการเมืองที่สามารถแก้ไขกฎระเบียบ ราคาตลาดโลกกับการระดมทรัพยากรในการผลิต • ปัจจัยทางวัฒนธรรม เช่น รสชาติอาหารกับวัฒนธรรม รูปแบบการเกษตรกับวัฒนธรรม ระดับชั้นทางสังคมกับผู้ทำการเกษตร Suraphol Sreshthaputra

  13. ปัจจัยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปัจจัยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มีการนำพัฒนาด้านการผลิต มีการเชื่อมโยงใช้พลังงานร่วมกัน(Synergy) ทำงานร่วมกันระหว่างสถาบันมีเครือข่ายการส่งเสริมและพัฒนา ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติของระบบเกษตรเปลี่ยนแปลง ปัจจัยทางเศรษฐกิจการเงิน • ความต้องการของตลาดมีผลต่อการเร่งระดมในการผลิต เกิดการผลิตในเชิงธุรกิจ Suraphol Sreshthaputra

  14. วิวัฒนาการทางการเกษตร (แบ่งตามยุค 4 ยุค คือ) • การเกษตรยุคก่อนประวัติศาสตร์ • การเกษตรยุคประวัติศาสตร์ ถึง ยุคโรมันเรืองอำนาจ (ยุคการเช่าที่ดินทำการเกษตร) • ยุคการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ยุคการปฏิวัติเขียว) Suraphol Sreshthaputra

  15. วิวัฒนาการทางการเกษตรแบ่งตามวัตถุประสงค์ขั้นที่ 1 การทำการเกษตรเพื่อยังชีพ (Subsistence)ขั้นที่ 2 การทำการเกษตรเพื่อเงินสด (Cash) หรือ ยุคการใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ยุคการปฏิวัติเขียว)ขั้นที่ 3 การทำการเกษตรเพื่อสภาพแวดล้อม (Environment) Suraphol Sreshthaputra

  16. ขั้นที่ 1 การทำการเกษตรเพื่อยังชีพ Subsistence) Suraphol Sreshthaputra

  17. Suraphol Sreshthaputra

  18. Suraphol Sreshthaputra

  19. ขั้นที่ 2 การทำการเกษตรเพื่อเงินสด (Cash) หรือ ยุคการใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ยุคการปฏิวัติเขียว) Suraphol Sreshthaputra

  20. Suraphol Sreshthaputra

  21. วิวัฒนาการ และ การปฎิวัติทางการเกษตร (Agricultural Evolution / Revolution ) Suraphol Sreshthaputra

  22. Welcome to the Agricultural Revolution WASHINGTON STATE UNIVERSITY

  23. Technology Necessary for Agriculture

  24. The techniques for gathering or harvesting cereal crops, shown above left in a tomb painting of New Kingdom Egypt and below right in photograph of a modern Egyptian farmer, remind us how precious a commodity grain was to early civilizations. Grain was dearly bought with human sweat and diligence and strict social organization. Most cultures quite naturally came to associate the main crops that sustained their existence with the substance of life itself, either worshipping those plants or seeing them as symbols of the power of life.

  25. In the photo above, an Egyptian woman fashions a bowl out of rings of clay-- probably the oldest way of making pottery. At right, an Egyptian craftsman fashions a large container using the next level of technological development--a potter's wheel, which he moves with his foot. Technology as basic as the potter's wheel allowed early humans to enjoy the first fruits of mass production Pottery

  26. The discovery of techniques for turning plant and animal fibers into cloth represented a revolutionary improvement in the quality of human life. Weaving may have preceded agriculture, as it grew naturally out of basketry and the weaving of reed mats. Life in sedentary agricultural villages permitted the refinement of ancient techniques and the adoption of more complex looms, as shown above.

  27. วิวัฒนาการของสังคม มนุษย์มีวิวัฒนาการมากกว่า 50 ล้านปีมีการพัฒนาที่เริ่มจาก Animal Homo sapiens ( อาศัยในถ้ำ ,เร่ร่อน , ล่าสัตว์ฯลฯ) การแบ่งช่วงวิวัฒนาการ ที่มา: อ.ศรายุทธ ตรีรัตน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ (ตั้งแต่หน้า 27-32) Agriculture History and It’s Revolution http://www.phrae.mju.ac.th/cirriculum/web_Agricultural/Lisson1.html Suraphol Sreshthaputra

  28. วิวัฒนาการของการเกษตรวิวัฒนาการของการเกษตร • Agriculture History and It’s Revolution • ในช่วงยุคสมัยของการเกษตรแบ่งเป็น 3 ยุค คือ • ยุคเริ่มแรก 2. ยุคปฏิวัติการเกษตรกรรม 3. ยุคการปฏิวัติเขียว Suraphol Sreshthaputra

  29. 1. ยุคเริ่มแรก - ตะวันออกกลาง , เอเชีย , ยุโรป , อเมริกา , แอฟริกา , หมู่เกาะ มหาสมุทรแปซิฟิก - ล่าสัตว์ หาของป่า - การเกษตรเพื่อยังชีพ - พันธุ์พืชกระจายไปตามการย้ายถิ่นฐาน - ทำการปลูกพืชตามลุ่มน้ำ เลี้ยงสัตว์ตามทุ่งหญ้าป่าเขา. 2.ยุคปฏิวัติการเกษตรกรรม -ปลูกพืชพันธุ์ใหม่ -ปลูกพืชหมุนเวียน ทำการเกษตรผสมผสาน -ปลูกเพื่อการค้า เช่น พืชอาหารต่างๆ -ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร -ใช้สารเคมี Suraphol Sreshthaputra

  30. 3. ยุคการปฏิวัติเขียว • ใช้พันธุ์พืชและสัตว์ที่ให้ผลผลิตสูงเช่นข้าวโพดพันธุ์ลูกผสม,Hybrid rice หรือ Super rice • การใช้เทคโนโลยีชีวภาพการตัดต่อทางพันธุกรรมฉายรังสีเช่นข้าวโพด BT , ถั่วเหลืองที่ทนต่อกรัมม๊อคโซน , ข้าวพันธุ์ กข.6 และ กข.15 ที่เกิดจากการฉายรังสีแกมม่า • การใช้เครื่องมือทางการเกษตรที่ทันสมัย • การใช้สารเคมีปุ๋ยเคมีที่มีประสิทธิภาพ Suraphol Sreshthaputra

  31. ผลของการปฏิวัติเขียว • เพิ่มปริมาณพืชอาหารเอาชนะความ อดอยาก • สังคมเริ่มเปลี่ยนเป็นระบบอุตสาหกรรมเกษตรและทุนนิยม • ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม • และจะย้อนกลับมายังระบบการเกษตรที่เกื้อกูลเช่นเกษตรอินทรีย์เกษตรธรรมชาติการใช้จุลลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์เช่น E.M., Tricodermaฯ Suraphol Sreshthaputra

  32. การเกษตรของประเทศไทย • ประเทศไทยเริ่มต้นด้วยระบบเศรษฐกิจเกษตร • จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าประเทศไทยมีการทำการเกษตรมานานประมาณ 7,000 ปีถึง 9,000 ปีก่อนคริสต์กาล • จากหลักฐานเมล็ดพันธุ์พืชและรูปวาดเมล็ดพืชพวกข้าวที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนและอุดรธานี • " ความเจริญเดินตามรอยไถ" (Civilizations follow the plough) • " เงินทองเป็นของมายาข้าวปลาเป็นของจริง " • " ในน้ำมีปลาในนามีข้าว " Suraphol Sreshthaputra

More Related