1 / 15

พื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ( Joint Development Area)

พื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ( Joint Development Area). บริเวณเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยตอนล่างที่ไทยและมาเลเซียอ้างสิทธิ ทับซ้อ น กัน มีเนื้อที่ประมาณ 7,250 ตารางกิโลเมตร มีศักยภาพ ปิโตรเลียมสูง ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ได้มีการลงนามระหว่างรัฐบาลทั้งสองใน

lore
Download Presentation

พื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ( Joint Development Area)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย (Joint Development Area) • บริเวณเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยตอนล่างที่ไทยและมาเลเซียอ้างสิทธิ ทับซ้อนกัน มีเนื้อที่ประมาณ 7,250 ตารางกิโลเมตร มีศักยภาพ ปิโตรเลียมสูง • ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ได้มีการลงนามระหว่างรัฐบาลทั้งสองใน บันทึกความเข้าใจ ไทย-มาเลเซีย (MOU) เพื่อก่อตั้งองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Authority) เพื่อบริหารจัดการพื้นที่นี้

  2. LOCATION MAP JOINT DEVELOPMENT AREA (JDA) LEGEND PTTEPI/CARIGALI CARIGALI/TRITON BONGKOT APPROX. 100 KM GULF OF THAILAND BLOCK B-17 APPROX. 260 KM BLOCK A-18 Songkhla APPROX. 180 KM APPROX. 120 KM BLOCK C-19 Pattani APPROX. 150 KM THAILAND JERNEH APPROX. 310 KM TO KERTEH Kota Bahru 50 Km MALAYSIA h1p1

  3. บันทึกความเข้าใจไทย-มาเลเซีย (MOU-1979) ฉบับ 21 กุมภาพันธ์ 2522 ๏ ความตกลงว่าด้วยธรรมนูญองค์กรร่วม (MTJA Agreement-1990) ฉบับ 30 พฤษภาคม 2533 ๏ พ.ร.บ. องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย พ.ศ. 2533 (MTJA Act 1990) รจ. 22 มกราคม 2534

  4. หลักการของพื้นที่ JDA และองค์กรร่วม (MTJA) ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์จากกิจกรรมสำรวจและผลิต ปิโตรเลียมในพื้นที่ JDA ไทย-มาเลเซียนี้ รัฐบาลทั้งสอง จะรับภาระและแบ่งประโยชน์เท่าเท่ากัน (50:50)

  5. Present Co-Chairmen and Members of the MTJA • Malaysia • 1. Tan Sri Ahmad Kamil Jaafar • Co-Chairman, MTJA • 2. Dato’ Dr. Samsudin Hitam • Director-General, Economic Planning Unit • 3. Tan Sri Mohd. Hassan Marican • President/Chief Executive Officer • PETRONAS • 4. Dato’ Nuraizah Abdul Hamid • Secretary-General • Ministry of Energy, Telecommunication and Posts • 5. Dato’ Ghazzali Sheikh Abdul Khalid • Deputy Secretary-General I • Ministry of Foreign Affairs • 6. Dr. Syed Muhamad Syed Abdul Kadir • Secretary, Tax Analysis Division • Ministry of Finance • 7. Dato’ Ahmad Haji Maarop • Head, Advisory & International Law Division • Attorney-General’s Chambers • Thailand • 1. Mr. Sivavong Changkasiri • Co-Chairman, MTJA • 2. Mr. Pricha Attavipach • Permanent-Secretary • Ministry of Industry • 3. Admiral Thira Hao-Charoen • Commander-in Chief • The Royal Thai Navy • 4. Dr. Ackaratorn Chularat • Secretary-General • Office of the Council of State • 5. Mr. Nopadon Mantajit • Director-General • Department of Mineral Resources • Ministry of Industry • 6. Mr. Vasin Teeravechyan • Director-General • Department of Treaties and Legal Affairs • Ministry of Foreign Affairs • 7. Mr. Vuthichai Pongprasith • Director-General • Comptroller-General’s Department • Ministry of Finance

  6. อำนาจหน้าที่หลัก ๆ ขององค์กรร่วม (MTJA) ๏ทำสัญญาแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract) กับเอกชนผู้รับสิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ JDA โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาลทั้งสอง ๏กำหนดโครงสร้างการบริหาร และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่บริหาร (Management) ขององค์กรร่วม ๏ ควบคุม ติดตาม และกำกับดูแล แผนงานพัฒนาและลงทุน ของเอกชนผู้ได้รับสัญญา PSC ในพื้นที่ JDA

  7. งบประมาณดำเนินงานขององค์กรร่วม (MTJA) ๏ MTJA Budget มียอดงบฯ เฉลี่ยประมาณปีละ 1.6 ถึง 2.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ๏ ในระหว่างที่ MTJA ยังไม่มีรายได้ของตนเอง (จากส่วนแบ่งในการผลิตปิโตรเลียม) รัฐบาลไทยและรัฐบาลมาเลเซีย จะจ่ายเงินอุดหนุนเป็นรายปีฝ่ายละเท่าๆ กัน ๏ นับแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบัน ฝ่ายรัฐบาลไทยได้ส่งเงินอุดหนุนให้แก่ MTJA ไปแล้วเป็นเวลา 7 ปี รวมทั้งสิ้น 4.85 ล้าน US$ หรือประมาณ 132.4 ล้านบาท

  8. ผลคืบหน้า (Milestones) สำคัญ ๆ ในอดีต 1 ต.ค. 35 ตั้ง MTJA Office ที่ KL แต่งตั้ง CEO คนแรก (ไทย) มีวาระ 4 ปี 21 เม.ย. 37 นรม. ไทย & มาเลเซีย ทำพิธีเปิด Head Office ของ MTJA ที่ KL อย่างเป็นทางการ 21 เม.ย. 37 MTJA ลงนามให้สิทธิสัญญา PSC 2 ฉบับ แก่บริษัทเอกชนผู้ประกอบการ 22 เม.ย. 41 พิธีลงนามในข้อตกลงเบื้องต้น (HOA-GSA) ของสัญญาซื้อขายก๊าซ ระหว่าง MTJA/ผู้ประกอบการสองแปลง กับ ปตท./PETRONAS 30 พ.ย. 41 บริษัทผู้ประกอบการทั้งสองกลุ่มได้ เจาะหลุมสำรวจทั้งสิ้น 29 หลุม ลงทุนไป 371 ล้าน US$ ผลพบแหล่งก๊าซ 15 แหล่ง ปริมาณสำรอง 9.5 tcf.

  9. บริษัทผู้ได้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) และบริษัทผู้ดำเนินงาน (Operator) ในพื้นที่ JDA แปลง A-18 (พื้นที่ ~ 2,950 ตร.กม.) บริษัทผู้ได้รับสัญญา (PSC) Petronas Carigali (JDA) Sdn. Bhd. : 50 % Triton Oil Company of Thailand (JDA) Ltd. : 49.5% Triton Oil Company of Thailand Inc. : 0.5% ผู้ดำเนินงาน (Operator) Carigali - Triton Operating Company (CTOC)

  10. บริษัทผู้ได้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) และบริษัทผู้ดำเนินงาน (Operator) ในพื้นที่ JDA แปลง B-17 & C-19 (พื้นที่ ~ 4,300 ตร.กม.) บริษัทผู้ได้รับสัญญา (PSC) PTTEP International Ltd. : 50 % Petronas Carigali (JDA) Sdn. Bhd. : 50 % ผู้ดำเนินงาน (Operator) Carigali - PTTEPI Operating Company (CPOC)

  11. ปริมาณงานและเงินลงทุนในพื้นที่ JDA ไทย-มาเลเซีย ของบริษัทผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต (PSC) จาก MTJA แปลง ข้อผูกพันตามที่กำหนดในสัญญา PSC สำหรับ 5 ปีแรก (21/4/97-20/4/99) งานและค่าใช้จ่ายจริงที่ปฏิบัติไปแล้ว ในเวลา 4 ปีครึ่ง (21/4/97-30/11/98) 2D Seismic Survey = 5,500 km เจาะหลุมสำรวจ = 3 หลุม ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ = 25 ล้าน US$ 2D Seismic Survey = 5,800 km 3D Seismic Survey = 1,154 sq.km เจาะหลุมสำรวจ = 16 หลุม ค่าใช้จ่ายจริง = 223 ล้าน US$ Block A-18 (Carigali/Triton) CTOC 2D Seismic Survey = 5,500 km เจาะหลุมสำรวจ = 2 หลุม ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ = 18 ล้าน US$ 2D Seismic Survey = 6,110 km 3D Seismic Survey = 1,939 sq.km เจาะหลุมสำรวจ = 13 หลุม ค่าใช้จ่ายจริง = 148 ล้าน US$ Block B-17&C-19 ( ปตท.สผ.อ./Carigali) CPOC

  12. ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติที่สำรวจพบแล้วในพื้นที่ JDA ไทย-มาเลเซีย (จำนวน 15 แหล่ง) หน่วย : พันล้านลูกบาศก์ฟุต (billion CF) ชื่อแหล่งก๊าซ แปลง/ผู้ดำเนินงาน Proved Reserve Proved+Probable 1. จักรวาล ( Cakerawala) 2. สุริยา ( Suriya ) 3. บุหลัน ( Bulan ) 4. ภูมี ( Bumi ) 5. เซ็นจา ( Senja ) 6. ภูมี-ตะวันออก(Bumi-East) 7. สมุทรา ( Samudra ) 8. วีระ ( Wira ) 2,002 1,501 866 743 353 432 Block A-18 (CTOC) 1,452 2,407 187 346 86 193 124 580 18 18 1. มูด้า (Muda) 2. ตาปี (Tapi) 3. เจ็งก้า (Jengka) 4. อมฤต (Amarit) 5. มะลิ (Mali) 6. เจ็งก้า-ตะวันตก(Jengka West) 7. เจ็งก้า-ใต้ (Jengka South) 646 972 237 414 Block B-17 (CPOC) 328 384 180 213 108 480 112 156 74 47 รวม 6,122 9,537

  13. ผลตอบแทนต่อประเทศไทยจาก MTJA และ JDA ทางตรง ๏ ความมั่นคงทางพลังงาน (security of supply) ๏ Gas Reserves 9.5 ล้านล้าน ล.บ. ฟุต (tcf) (15 แหล่ง) (เกือบเท่ากับปริมาณสำรองก๊าซที่มีอยู่เดิมในทั้งอ่าวไทย) ๏ ค่าภาคหลวง ๏ ส่วนแบ่งกำไร (profit share) ๏ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

  14. ผลตอบแทนต่อประเทศไทยจาก MTJA และ JDA ทางอ้อม ๏ ภาษีทางอ้อมต่าง ๆ จากกิจกรรมจ้างเหมาบริการขุดเจาะสร้างแท่นผลิต ๏ กระตุ้นโครงการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม สร้าง infrastructure ใหม่ๆ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งเสริมการพัฒนาสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ IMT-GT ๏ กระชับความสัมพันธ์และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ไทยกับมาเลเซีย

More Related