740 likes | 3.16k Views
การทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อด้วยวิธี Use dilution ตามวิธีมาตรฐาน AOAC 2010 chapter 6. กลุ่มตรวจสอบคุณภาพยาสัตว์และวัตถุอันตราย สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์. ขอบข่าย.
E N D
การทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อด้วยวิธี Use dilution ตามวิธีมาตรฐาน AOAC 2010 chapter 6 กลุ่มตรวจสอบคุณภาพยาสัตว์และวัตถุอันตราย สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขอบข่าย ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อด้วยวิธี Use dilution ในผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่สามารถละลายน้ำได้ ว่าฆ่าเชื้อได้ตามที่อัตราส่วนฉลากระบุไว้ หรือเป็นการยืนยันผล ค่าสัมประสิทธิ์ฟีนอล และเพื่อใช้พิจารณาระดับความเจือจางสูงสุดของผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ ที่เหมาะสำหรับการนำมาใช้ฆ่าเชื้อ ซึ่งเชื้อที่ใช้ทดสอบคือ - Staphylococcus aureus ATCC 6538 - Salmonella Choleraesuis ATCC 10708 - Pseudomonas aeruginosa ATCC 15442
หลักการ ในการทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อวิธี Use dilution เป็นการทดสอบตามอัตราส่วนที่ฉลากระบุ โดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อละลายในน้ำ หรือกรณีผลิตภัณฑ์ไม่กำหนดอัตราส่วนการใช้ต้องทำการทดสอบหาค่าสัมประสิทธิ์ฟีนอล(PC) เมื่อได้ค่า PC แล้วนำตัวเลข 20 มาคูณ เนื่องจาก Phenol ที่ระดับความเจือจาง 1:20 จัดเป็นระดับความเจือจางมาตรฐานในการนำไปใช้ของน้ำยาฆ่าเชื้อ ในการทดสอบ Use dilution ใช้ Stainless steel cylinder เป็นตัวแทนพื้นผิว ในการทดสอบ 60 หลอดทดสอบ สามารถมีเชื้อจุลินทรีย์ที่เจริญได้เพียง 1 หลอดทดสอบ ภายในเวลา 10 นาที
ขั้นตอนการทดสอบ 1. การเตรียมเชื้อจุลินทรีย์ก่อนการทดสอบ -70 NB 10 mL บ่ม 37±1 oC 18 -24 h.
MSA TSA streak Staphylococcus aureus NB 10 mL XLD TSA Salmonella Choleraesuis NA Slant บ่ม 37 ± 1 oC 48 ± 2 h. เก็บที่ 2 – 5 oC 30 ± 2 วัน Cetrimide TSA Pseudomonas aeruginosa
MSA XLD Cetrimide TSA TSA TSA Staphylococcus aureus Salmonella Choleraesuis Pseudomonas aeruginosa Microscope Microscope Microscope
การอ่านผลทดสอบทางชีวเคมีการอ่านผลทดสอบทางชีวเคมี Staphylococcus aureus Salmonella Choleraesuis Pseudomonas aeruginosa
2.ขั้นตอนการเพาะเชื้อสำหรับการทดสอบ2.ขั้นตอนการเพาะเชื้อสำหรับการทดสอบ 1 loop (10µl.) 10 loop (100µl.) 1 loop (10µl.) NB 10 mL บ่ม 36±1 oC 22 -26 h. NB 10 mL บ่ม 36±1 oC 22 -26 h. (ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 วัน) NB 100 mL บ่ม 36±1 oC 48-54 h.
3. การเตรียม Carrier แช่ 1 M NaOH ประมาณ 12 ชั่วโมง หรือ 1 คืน ถังขยะ ล้างด้วยน้ำจากก๊อก และเช็คความเป็นกรด-ด่าง ด้วย 1% Phenolphthalein จนไม่มีสี แล้วล้างด้วยน้ำ DI อีก 2 ครั้ง นำ Carrier ที่ผ่านการล้างแล้วนำมาใส่ในขวด Bottle solution และเติมน้ำ RO ให้ท่วม นึ่งฆ่าเชื้อที่ 121 oC15 นาที
4.ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่าง4.ขั้นตอนการเตรียมตัวอย่าง ตวงน้ำ example Aseptic technical Beaker Pipette Bottle solution
example solution 10 mL example solution 20.0 Water bath 20±1 oC
4.ขั้นตอนการทดสอบ Pipette 25 mL แช่เชื้อ 15±2 นาที
SET 1 Plate 1 Plate 2 Plate 3 36.0 Dry 36±1 oC 40±2 นาที
นำ Carrierมาทดสอบ สุ่ม Carrier เพลทละ 1 อัน เพื่อนำมาทำการทดสอบการควบคุมคุณภาพ และสุ่มอีก 2 อันใน 1 set เพื่อทำ Control positive 30±5 S 20.0
20.0 30±5 S 36.0 บ่ม 36±1 oC 48±2 ชั่วโมง Letheen broth 10 mL
การควบคุมคุณภาพ - Quantitation of Test organism 1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL Test culture 10-1 10-2 10-3 10-4 10-5 10-6 10-7 10-8 1000µL 10-6 10-6 10-7 10-7 10-8 10-8 Pour plate 10-6 10-6 10-7 10-7 10-8 10-8 TSA Mix ให้ผสมกันดี ตั้งไว้ให้แห้งจากนั้นนำไปบ่มที่ 36±1 oC 24 – 48 h.
- Enumeration & Quantitation of Test organism on Carrier Letheen broth 10 mL Sonicator 1 min ± 5 sec 1 min
1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL 10-1 10-2 10-3 10-4 10-5 10-6 10-7 10-8 100 µL 10-6 10-6 10-7 10-7 10-8 10-8 Pour plate 10-6 10-6 10-7 10-7 10-8 10-8 TSA Mix ให้ผสมกันดี ตั้งไว้ให้แห้งจากนั้นนำไปบ่มที่ 36±1 oC 24 – 48 h.
- Control positive, Control negative, Control sample นำไปบ่มที่ 36±1 oC 24 – 48 h. Control negative นำไปบ่มที่ 36±1 oC 24 – 48 h. Control positive Pipette 1 mL นำไปบ่มที่ 36±1 oC 24 – 48 h. example solution Control sample
6.การอ่านผลการทดสอบ • การทดสอบ Use dilution อ่านผลการทดสอบโดยดูจากหลอดทดสอบทั้ง 60 หลอด ว่ามีเชื้อเจริญหรือไม่ เกณฑ์การยอมรับคือ ใน 60 หลอดทดสอบสามารถมีเชื้อเจริญได้ไม่เกิน 1 หลอด แต่การทดสอบดังกล่าวยังตอบผลว่าผ่านไม่ได้ เนื่องจากต้องดูผลการควบคุมคุณภาพประกอบด้วย จึงสามารถระบุว่าการทดสอบผ่านหรือไม่ผ่าน
การอ่านผล Quantitation of Test organism & Test organism on Carrier • การอ่านผลทั้งสองการทดสอบนี้ใช้วิธีการอ่านผลคือ นับปริมาณเชื้อแล้วนำปริมาณเชื้อที่อยู่ในช่วง 25 – 250 โคโลนี มาคำนวณตามสูตร ดังต่อไปนี้ c n = (1 × n1) + (0.1 × n2) × d c = ผลรวมโคโลนีทั้งหมดที่นับได้ในช่วง 25 – 250 โคโลนี n1 = จำนวนเพลทที่นับได้ใน dilution แรก n2 = จำนวนเพลทที่นับได้ใน dilution ที่สอง d = dilution แรกที่นับได้ หมายเหตุ : หากเป็นการทดสอบ Test organism on Carrier ให้คูณด้วย 10
ตัวอย่าง ผลการนับปริมาณเชื้อมีดังนี้ 10-6 = 250, 309 10-7 = 98, 65 10-8 = 15, 24 นำค่าที่อยู่ในช่วง 25 – 250 มารวมกัน = 250 + 98 + 65 = 453 แทนค่าในสูตร 413 n = (1 × 1) + (0.1 × 2) × 10-6 n = 344.16 × 106 n = 3.44 × 108 ( Carrier 3.44 × 10 × 108 ) CFU/mL
การอ่านผล Enumeration • อ่านผลโดยนับปริมาณเชื้อแล้วนำปริมาณเชื้อที่อยู่ในช่วง 0 – 300 โคโลนี มาคำนวณตามสูตร ดังต่อไปนี้ CFU/mL = (avg. CFU for 10-x)+(avg. CFU for 10-y)+(avg. CFU for 10-z) 1 10-x+ 10-y+ 10-z CFU/mL = CFU/mL × 10 mL of broth / Carrier 2 นำค่า CFU/Carrier มา taking the log10ซึ่งต้องได้ค่า ≥ 6 หากได้ค่าน้อยกว่า 6 แสดงว่า การ Dry carrier ไม่ดีหรือเกิดการปนเปื้อนในตัวอย่างทดสอบ จึงต้องทำการทดสอบซ้ำจนกว่าจะได้ค่าอยู่ในเกณฑ์การยอมรับคือ ≥ 6
ตัวอย่างการอ่านผล Enumeration
แทนค่าในสูตร CFU/mL = (247.05)+(66.16)+(19.05) 10-6+ 10-7+ 10-8 CFU/mL = 332.26 1.11 × 10-6 CFU/mL = 3.0 × 108 CFU/Carrier = 3.0 × 108 × 10 CFU/Carrier = 3.0 × 109 CFU/log10 = 9.477 สรุป : ผลการทดสอบ Enumeration ผ่าน เนื่องจากมีค่ามากกว่าเกณฑ์การยอมรับคือ ≥ 6
การอ่านผล Control positive, Control negative, Control sample • Control positive ผลผ่านต่อเมื่อมีเชื้อเจริญ • Control negative ผลผ่านต่อเมื่อไม่มีเชื้อเจริญ • Control sample ผลผ่านต่อเมื่อไม่มีเชื้อเจริญ
การทดสอบ Neutralization p p p สุ่มหลอดทดสอบ 6 หลอด p p p
1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL 1000 µL 10-1 10-2 10-3 10-4 10-5 10-6 10-7 10-8 เชื้อทดสอบ อายุ 24 – 48 h. 100 µL 100 µL Pour plate Pour plate
ผลการทดสอบจะต้องมีเชื้อเจริญทุกหลอดทดสอบจึงจะให้ผลผ่านการทดสอบ หากไม่มีเชื้อเจริญแสดงถึงการทดสอบมีสารหรือยาฆ่าเชื้อติดมาใน Carrier มากเกินไป ผลการทดสอบจะต้องอยู่ในช่วง 10 – 100 โคโลนี