1 / 49

การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา

การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 24 มกราคม2550 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. นำความเปลี่ยนแปลง. โลกยุคใหม่. แก้ปัญหา เผชิญหน้า. รู้หลายอย่าง นอกห้องเรียน. เผชิญ สิ่งแวดล้อม. เทคโนโลยี เปลี่ยนเร็ว. คนยุคใหม่ต้องมีคุณภาพ. คิดริเริ่ม.

lloyd
Download Presentation

การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาการปฎิรูปการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 24 มกราคม2550 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

  2. นำความเปลี่ยนแปลง โลกยุคใหม่ แก้ปัญหา เผชิญหน้า รู้หลายอย่าง นอกห้องเรียน เผชิญ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี เปลี่ยนเร็ว คนยุคใหม่ต้องมีคุณภาพ คิดริเริ่ม พึ่งตนเอง มีเหตุผล ปรับตัว ต้องเปลี่ยนวิธีสอน เปลี่ยนสิ่งแวดล้อม คณาจารย์ยุคใหม่

  3. องค์ความรู้สำหรับนักการศึกษา/ คณาจารย์ยุคใหม่ 1.รู้จัก Learning Styles – เช่นการเรียนรู้แบบโครงงาน/ เรียนรู้เพื่อพัฒนาสมอง/ การสร้างสรรค์ด้วยปัญญา/เรียนรู้ด้วยการวิจัย 2.รู้จัก Learning How to Learn - รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร/ How to Search 3. รู้จักใช้ตัวช่วย(ICT for Learning) 5

  4. การเรียน การสอน ยุคเก่า หลักสูตร+วิธีสอน+ตำรา/อุปกรณ์+วัดผล ได้รับปริญญา มีงานทำ การเรียน การสอน ยุคใหม่ ทำงานและ เรียนรู้ ตลอดชีวิต สร้างศักยภาพเรียนรู้ด้วยตนเอง + เครือข่ายการเรียนรู้ ระบบช่วยเหลือนักศึกษา+กิจกรรมรวมพลังทางสังคม 15

  5. จุดอ่อนการสอนของคณาจารย์แบบดั้งเดิมจุดอ่อนการสอนของคณาจารย์แบบดั้งเดิม สอนตามแบบที่ตนเองเรียนมา เน้นท่องจำเนื้อหา เน้นจดบันทึกคำบรรยาย สอนแบบตายตัว ทฤษฎี กฎ ตัวอย่างโจทย์ แบบฝึกหัด ให้ทำรายงาน ยัดเยียดให้ครบ/ เกินหลักสูตร

  6. สิ่งที่ผู้เรียนได้จากการสอนแบบดั้งเดิมสิ่งที่ผู้เรียนได้จากการสอนแบบดั้งเดิม นกแก้วท่องจำเนื้อหา แก้โจทย์ปัญหาได้ แต่แก้ปัญหา ชีวิตจริงไม่ได้ เป็นนักทฤษฎี แต่ปฏิบัติไม่ได้ ฝึกข้อสอบจากแบบทดสอบรุ่นพี่/ แบบฝึกหัดสำเร็จรูป ลอกรายงาน/

  7. ผู้สอน ประสิทธิประสาทวิชา คณาจารย์ ยุค ใหม่ แม่พิมพ์แบบอย่าง ของการพัฒนา แม่พระให้ความอบอุ่น ความรักความเมตตา

  8. หลักการฝึกพัฒนาครูยุคใหม่หลักการฝึกพัฒนาครูยุคใหม่ 1. จากครู : ผู้สอน ครู : ผู้สอน+ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง 2. จากครู : ผู้บรรยาย ครู ผู้คิดริเริ่ม+ครูที่มีเหตุผล หลักการสอนผู้เรียนของครูยุคใหม่ ครูเป็น ต้นแบบ ครูเรียนรู้ด้วยตนเอง +คิดริเริ่ม+มีเหตุผล นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง +คิดริเริ่ม+มีเหตุผล

  9. กระบวน/วิธีฝึกครูให้เป็นผู้เรียน/นักเรียนที่คิดริเริ่ม+มีเหตุผลกระบวน/วิธีฝึกครูให้เป็นผู้เรียน/นักเรียนที่คิดริเริ่ม+มีเหตุผล 1. รวบรวมข้อมูล 2. จัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ 3. เชื่อมโยงข้อมูล 4. สร้างแนวคิดทฤษฎี 5. กำหนดทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา 6. ประเมินผลทางเลือก 7. ทดสอบทางเลือกที่ต้องการนำมาใช้ 8. ปรับปรุงทางเลือกที่ใช้ประโยชน์ได้ 9. ลงมือปฏิบัติ + นำไปใช้จริง

  10. คุณลักษณะผู้เรียนรู้ด้วยตนเองที่ดีคุณลักษณะผู้เรียนรู้ด้วยตนเองที่ดี ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบซ้ำ ๆ ให้เป็นนิสัย ช่างสังเกตเพื่อหาข้อมูล รู้จักฟังให้ได้ข้อมูลที่ดี ฉีกแนวคิดเดิมให้มีทางเลือกใหม่

  11. ปรัชญาของธรรมะ ผู้ปฏิบัติธรรมเท่านั้นที่จะเห็นธรรม การศึกษาคือการให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้เอง ปรัชญาของการศึกษา รู้ว่าจะไปหาความรู้ได้จากที่ไหน ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง ที่เก่งที่สุด ครูที่เก่งที่สุด ครูที่สามารถรายงานได้ครบว่า 1. นักเรียนของท่านมีปัญหาอะไร ทั้งด้านการเรียน และการพัฒนา 2. ครูใช้วิธีอะไรแก้ปัญหา 3. วิธีที่ใช้ได้ผลอย่างไร 4. ปีหน้าจะทำอย่างไร

  12. เดิม การปฏิบัติตนต่อนักเรียน การสอนของครู - นักเรียนต้องเคารพเชื่อฟัง - นักเรียนคือกลุ่มที่คุ้นเคย - เรียนรู้จากครูฝ่ายเดียว - ครูบรรยาย - ครูสอนทุกคน เหมือนกัน ใหม่ การสอนของครู การปฏิบัติตนต่อนักเรียน - ครูศึกษาเรียนรู้ให้ รู้จักแขกแปลกหน้า - ครูจำแนกจุดเด่นจุด ด้อยของนักเรียนแต่ละคน - ครูแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น กับนักเรียน - นักเรียนเป็นผู้แปลกหน้า - นักเรียนยังอ่อนหัด - นักเรียนแต่ละคนแตก ต่างกัน

  13. ครูในฐานะผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง + แม่แบบที่ดีของนักเรียน คุณลักษณะ + พฤติกรรมพึงประสงค์ + กระบวนการ 1. มีประสบการณ์มีเหตุผล 2. ใฝ่รู้กระตือรือร้น 3. รับผิดชอบเอาใจใส่ นักเรียนมากขึ้น 4. คิดอย่างมีระบบ 5. ฝึกนักเรียนรู้จักแก้ปัญหาตนเอง 6.ครูร่วมมือทำกิจกรรมโรงเรียนมากขึ้น 7. ครูสอนนักเรียนที่แตกต่างด้วยวิธีที่แตกต่างกัน 8. ครูประชุมร่วมกันเพื่อประเมินผลนักเรียนจากการปฏิบัติ และพฤติกรรม 9. ครูร่วมมือกับผู้บริหาร + ผู้ปกครอง 10. ครูมุ่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนมากขึ้น 11. ครูเป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียนมากขึ้น 12. ครูมีวินัยพัฒนาตนเองเรียนรู้มากขึ้น 13. วางเป้าหมายการเรียนรู้ที่เป็นไปได้

  14. เปรียบเทียบครู 2 คน ครูในฐานะผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง + แม่แบบที่ดี ครูในฐานะผู้สอน เนื้อหา กระบวนการสอนแบบใหม่ การสอนดั้งเดิม นักเรียนได้ นักเรียนได้ เทคนิค/วิธีเรียนรู้ กระบวนการ ข้อเท็จจริง ทฤษฎี เรียนรู้ด้วยตัวเอง - นักเรียนมีโอกาสแสดง ความคิดเห็น - นักเรียนได้แต่เนื้อหา - เบื่อหน่าย - พบความจริง - นำไปใช้ในชีวิตจริงไม่ได้ - ริเริ่ม - เป็นผู้ตามที่ดี - มีความคิดของตัวเอง - มีความกระตือรือร้น - ความรู้ท่วมหัวเอาตัว รอดหรือไม่ยังไม่แน่ ความภูมิใจในความสำเร็จ ของตนเอง - ไปตายเอาดาบหน้า

  15. สรุปปัญหาใหญ่ของการศึกษาไทยอยู่ที่ผลผลิต :การคิด 1.คิดผิด:คิดแบบเอาเปรียบ,คิดเรียนลัด,คิดเก็งกำไร 2.คิดไม่เป็น:ตามผู้อื่น,เลียนแบบ,เชื่อเพราะผู้พูด เป็นผู้ใหญ่หรือผู้อาวุโส 3.ไม่คิด: ติดนิสัยพึ่งพาผู้อื่น,เชื่อตัวบุคคล,เชื่อนัก วิชาการ,เชื่อหนังสือพิมพ์โดยไม่ไตร่ตรอง 4.คิดแล้วไม่ทำ: ประชุมเสร็จก็เลิกรา, ปล่อยให้คน ที่รับผิดชอบไปทำคนเดียว, ไม่ช่วยระดมในรูปกลุ่ม 35

  16. แก้ให้จุด ต้องสอนเด็กไทยให้คิดได้ 10มิติ 1. คิดเชิงวิพากษ์ค้นหาจุดดีจุดอ่อน 2. คิดเชิงวิเคราะห์จำแนกแจกแจง หาเหตุผล 3. คิดเชิงสังเคราะห์นำข้อมูลไปรวมกันเป็นสถานการณ์ใหม่ 4. คิดเชิงเปรียบเทียบชั่งน้ำหนัก เชื่อมโยงกับสิ่งอื่น 5. คิดเชิงมโนทัศน์คิดถึงแก่น หลักการ ปรัชญา 36

  17. การปฏิรูปการเรียนใหม่ ต้องสอนให้คิดได้ 10มิติ (ต่อ) 6. คิดเชิงประยุกต์นำไปทดลองใช้ในรูปแบบอื่น 7. คิดเชิงกลยุทธค้นหากลอุบายทางเลือก หลายทางไปสู่ความสำเร็จ 8. คิดเชิงบูรณาการคิดแบบผสมผสาน ใช้ความรู้รอบด้านมาตอบ 9. คิดเชิงสร้างสรรค์คิดสร้าง ค้นหาสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน 10. คิดเชิงอนาคตวาดไปในอนาคต คาดการณ์จะเกิดอะไรขึ้น 37

  18. การสอนแบบบรรยายไม่ใช่เลวร้ายไปหมดแต่ควรใช้เพียง 20% สอนด้วยวิธีที่หลากหลาย80% ควรใช้การบรรยายใน 3 สถานการณ์ 1) เหมาะกับการพูดกับคนจำนวนคราวละมากๆ ได้พร้อมกัน 2) ใช้เกริ่นนำและสรุปเนื้อหาเพื่อบอกให้ชัดเจน ตรงไปตรงมา 3) เป็นการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้รู้ไปยัง ผู้ไม่เคยรู้มาก่อน 38

  19. การสอนแบบบรรยาย มี เงื่อนไข 1) ผู้พูดต้องเก่ง มีน้ำเสียงลีลาน่าฟัง เสียงสูงเสียงต่ำ 2) เนื้อหาต้องน่าสนใจ 3) ความยาวไม่มาก 4) เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 5) มีการชักแม่น้ำทั้งห้า อุปมาอุปมัย พรรณนา 6) บรรยากาศไม่พูดแข่งกัน ไม่ร้อนเกินไป 39

  20. วิธีการถ่ายทอดให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองวิธีการถ่ายทอดให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. ผสมผสานสรรพวิชาเข้าด้วยกัน 2. ให้รู้จักเรื่องใกล้ตัวก่อน แล้วจึงขยายวงออกไป 3. รู้จักตนเองก่อน จึงรู้จักผู้อื่น กลุ่มอื่น 4. นำเรื่องที่เหมาะสมกับตนเองมาก่อน ง่ายก่อน 5. ให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม 6. ไม่ติดยึดตำรา แหล่งเรียนรู้แหล่งเดียว 7. เปิดใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ไปค้นหาเพิ่มเติม 8. ทำให้ผู้เรียนรู้ว่ามีสิ่งที่รู้แล้วแต่ยังไม่รู้อีกมาก ต้องใฝ่รู้มากขึ้น 9. สอนให้ฟังไปคิดตามไปด้วย 40

  21. แต่ละวิชาใช้ทักษะเรียนรู้ที่ไม่เหมือนกันแต่ละวิชาใช้ทักษะเรียนรู้ที่ไม่เหมือนกัน วิชา เน้นทักษะ • ภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน สื่อสารผู้อื่น • สังคม สร้างเจตคติ ฝึกทักษะกลุ่ม • ศิลปะ ดนตรีลงมือทำ อารมณ์สุนทรียะ คิดสร้างสรรค์ • กีฬา ลงมือฝึกให้ร่างกายเคลื่อนไหวในสถานการณ์แข่งขัน • วิทยาศาสตร์คิดเป็นกระบวนการ ทดลองค้นหาความจริง • ฝึกอาชีพ ลงมือฝึก รับผิดชอบ สร้างเอกลักษณ์วิชาชีพ • ปรัชญาศาสนา รู้เข้มวิเคราะห์สร้างศรัทธาเข้าใจชีวิตและตนเอง • เทคโนโลยี ซื้อมาใช้ เลียนแบบ ดัดแปลง สร้างเอง • คณิตศาสตร์ ทำแบบฝึกหัด ตีโจทย์ให้แตก หาเหตุผล ต้องเข้าใจ 41

  22. รูปแบบการสอนที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง(Learning Styles) • การเรียนรู้ของสมองBrain based-learning • จัดทำโครงงาน Project based- learning • ให้คิดสร้างสรรค์ Constructionism • เน้นการแก้ปัญหา Problem solving learning • เรียนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต E_learning (Distant learning through internet) • สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) • ทักษะชีวิต Life Skills 42

  23. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ 1.ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน : ความรับผิดชอบ + ทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.จัดกิจกรรมครอบคลุมทั้ง การคิด+ พฤติกรรมที่ทำ+ เกิดความรู้สึก 3.ใช้วิธีส่งเสริมแบบบูรณาการให้เกิดความคิดในเชิงบวก 4. สร้างบรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น 5. สร้างโอกาสการเรียนรู้เชิงคุณธรรมให้แก่นักเรียน 43

  24. การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์การสอนที่ส่งเสริมคุณธรรมเชิงสร้างสรรค์ 6.สอดแทรกคุณธรรมทุกวิชาและ ให้เกียรตินักเรียน 7.กระตุ้นให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 8.กระตุ้นครูทุกคนเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ 9.สร้างกิจกรรมนักเรียนในการเป็นผู้นำที่มีคุณธรรม 10.ขอความร่วมมือผู้ปกครองและชุมชน สนับสนุนการทำดีของลูก 11.การประเมินความสำเร็จของโรงเรียนให้ ประเมินจากพฤติกรรมของเด็กนักเรียน 44

  25. การส่งเสริมการอ่าน • อ่านดีคือ อ่านแล้วจับใจความ ตีความ และประเมินได้ วิธีส่งเสริมรักการอ่าน (อ่านเร็ว อ่านมาก อ่านยาก อ่านทน) -ครูต้องปรับการสอนให้เน้นเพื่อการสื่อสารมากกว่าเน้นไวยากรณ์ -ต้องเร่งงานวิจัยพัฒนาสร้างหลักสูตรวิธีสอนใหม่ๆให้ได้ผล -ครูต้องเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง -ต้องมีอุปกรณ์ช่วยสอน -ภูมิปัญญาของพ่อแม่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของลูก 45

  26. ตัวชี้วัดความสำเร็จ การปฏิรูปการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ของนร/นศตัวบ่งชี้ของครูตัวบ่งชี้ของผู้บริหาร 1.มีประสบการณ์ตรง 1.เตรียมเนื้อหาและวิธีหลากหลาย1.เป็นผู้นำการปฏิรูป 2.ค้นพบความถนัดของตน 2.จัดบรรยากาศจูงใจ2.จัดหาสถานที่อุปกรณ์ 3.ร่วมกิจกรรมกับกลุ่ม 3.เอาใจใส่ผู้เรียนรายบุคคล3.จัดหาความรู้มาเผยแพร่ 4.คิดหลากหลายได้แสดงออก 4.กระตุ้นผู้เรียนแสดงออก4.ยกย่องผู้มีผลงานดีเด่น 5.ได้รับการเสริมแรง 5.ให้โอกาสพัฒนาตนเอง5.รายงานความก้าวหน้า 6.ได้ฝึกค้นรวบรวมข้อมูล 6.ใช้สื่อทันสมัยช่วยสอน6.ให้กำลังใจครูและผู้เรียน 7.สนุกกับการร่วมกิจกรรม 7.ใช้แหล่งเรียนรู้หลากหลาย 8.รับผิดชอบในการทำงาน 8. ฝึกเรียนรู้จากกลุ่ม 9.ประเมินตนเองยอมรับผู้อื่น 9.สังเกตความก้าวหน้าของผู้เรียน 65

  27. หลากหลายข้อเสนอจากต่างประเทศ“1. อะไรทำให้โรงเรียนดี” ข้อเสนอโดย Roy A. Gordon • ครูใหญ่ 2. ครูทุกคน 3. หัวหน้านักเรียน 4. คำขวัญประจำโรงเรียน 5. กิจกรรม - กีฬา 6. ระเบียบวินัย 7. อารมณ์ขัน 46

  28. ยุทธศาสตร์: เปิดศักราชใหม่การจัดการกิจการนักเรียน • 1. ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก มีส่วนร่วมตัดสินใจ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ใหม่: เด็กคือ สมาชิก ปัจจุบัน เดิม: เด็กคือคน ในอนาคต 46

  29. 1.ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก(ต่อ)1.ต้องปรับวิธีคิดของผู้ใหญ่เกี่ยวกับตัวเด็ก(ต่อ) • เยาวชนมีแนวคิด บริสุทธิ์สดใส • เยาวชนที่ได้ฝึกความรับผิดชอบจะมีผลงานที่ดี • หากนักเรียนเข้าใจโลกแห่งความเป็นจริง เขาจะเตรียมพร้อมรับมือ • หากได้ฝึกช่วยเหลือผู้อื่น จะทำให้ตนเองมีคุณค่า • บูชาวีรบุรุษเป็นต้นแบบ พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ 47

  30. 2. อุปสรรคของการดึงเยาวชนมาร่วมกิจกรรม • ผู้ปกครองไม่เข้าใจ คิดว่ากิจกรรมเสียเวลา ควรมุ่งวิชาการ • เด็กเองมีปัญหาชีวิต ครอบครัวแตกแยก วิตก กังวล • ขาดโอกาส เพราะยากจน ขาดการสื่อสารโลกภายนอก หรือป่วย • กิจกรรมไม่น่าสนใจ กระบวนการยุ่งยาก ขาดข้อมูล • ข้อจำกัดด้านเวลา งบประมาณ วิทยากร 48

  31. 3. การสร้างการมีส่วนร่วมของเด็ก • 1. บังคับ ขาดการมีส่วนร่วม • 2. กำหนดเป็นกฎระเบียบ • 3. สั่งด้วยวาจา • 4. มอบหมายโดยบอกกล่าว ระดับการมีส่วนร่วม • 5. ให้คำแนะนำโดยบอกกล่าว • 6. ผู้ใหญ่ริเริ่มโดยฟังข้อเสนอเด็ก • 7. เด็กคิดโดยมีทิศทางให้ • 8 เด็กคิด ผู้ใหญ่ให้คำแนะนำ 49

  32. 4. ต้องพัฒนาจากการมีส่วนร่วมไปเป็นการสร้างภาวะผู้นำ นักศึกษามหาวิทยาลัย เด็กมัธยม เด็กเล็ก เด็กลง มือทำ เด็กมี บทบาท ทั้งหมด กลุ่มเพื่อน และ ผู้ใหญ่ ร่วมคิด เด็กจัด กิจกรรม เยาวชน ตัดสินใจ เยาวชนร่วม วางแผน ผู้ใหญ่จัด เด็กเข้าร่วม ผู้ใหญ่จัด เด็กร่วม วางแผน เด็กทำ ตามสั่ง 50

  33. 5.ต้องทำงานโดยใช้ยุทธศาสตร์7ประการ5.ต้องทำงานโดยใช้ยุทธศาสตร์7ประการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 กระตุ้นนักเรียนมีส่วนร่วมโดยปรับกิจกรรมให้มีชีวิต สนุก ตื่นเต้น - นักเรียนร่วมตัดสินใจทุกระดับการทำงาน - ผู้ใหญ่ปรับบทบาทเป็นผู้สนับสนุน ให้กำลังใจ - พัฒนาศักยภาพให้นักเรียนทำงานเป็น - นักเรียนเข้าถึงข้อมูล - ให้นักเรียนรับผิดชอบ 51

  34. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผู้ใหญ่ต้องส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักปรับตัวจากเด็กเป็นเยาวชนที่ดีมีคุณภาพ - จัดกิจกรรมที่น่าสนใจ ท้าทาย มีทางเลือก - ผู้ใหญ่มีทักษะเป็นวิทยากร 52

  35. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน • ยุทธศาสตร์ที่3 • ต้องส่งเสริมความเสมอภาคและ การส่วนร่วมรับผิดชอบไม่ว่าจะเป็น เด็กหรือผู้ใหญ่ เป็นหญิงหรือชาย - เปิดโอกาสทุกคนเข้าถึงบริการ - จัดงานให้เหมาะกับความถนัด 53

  36. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน ยุทธศาสตร์ที่4 ยื่นมือออกไปแสวงหาเครือข่ายและทำลายอุปสรรคที่ขวางกั้นเพื่อรวมพลังทำงานเป็นกลุ่มมวลชนสร้างสรรค์ -ทำความเข้าใจกับผู้ปกครอง -หาหน่วยสนับสนุนจากภายนอก 54

  37. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน • ยุทธศาสตร์ที่5 • สร้างความแข็งแกร่งสร้างอาสาสมัครเป็นเครือข่ายรวมพลังการสนับสนุนเยาวชนในกิจกรรมสังคม - ฝึกอบรมวิธีทำงานของอาสาสมัคร - ให้เกียรติ ยอมรับและยกย่อง 55

  38. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 6 ปรับประสิทธิภาพการทำงานแบบสร้างเครือข่าย - จัดระบบสื่อสารให้ทั่วถึง - สร้างความสัมพันธ์ในหมู่สมาชิก 56

  39. ยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียนยุทธศาสตร์7ประการเปิดศักราชใหม่กิจการนักเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 7 กำหนดคุณลักษณะของเยาวชนยุคใหม่เน้นให้สื่อสารกับคนอื่นๆได้ทำงานเป็นเครือข่ายและรู้จักค้นหาทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ที่จะทำงานให้สำเร็จ - ฝึกการเขียน การพูดที่สาธารณะ - ฝึกการใช้งานอินเตอร์เน็ตสร้างสรรค์ 57

  40. การปฏิรูปการเรียนรู้ : หลักการของการเรียนรู้ ความรู้ไม่ใช้ก็ลืม ยิ่งใช้ยิ่งจำ ความรู้มีเกิดใหม่และตายไป มีความรู้บางเรื่องที่เป็นอมตะไม่มีวันตาย เช่น สัจธรรมทางศาสนา ความรู้มีหลายระดับตั้งแต่ง่ายจนยาก ข่าวสาร --> องค์ความรู้ --> ปัญญา information Knowledge Wisdom ความรู้แลกเปลี่ยนกันได้ ความรู้มีทั้งด้านดีและเลว ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด แสดงว่าไม่นำสิ่งที่รู้ไปใช้จริง ผู้นำต้องมีความรู้รอบตัว หลากหลายรอบด้าน 2

  41. การจัดการความรู้ของหน่วยงาน สู่การเป็นองค์การเรียนรู้ 1. สร้างวัฒนธรรมใหม่ 2. สร้างวิสัยทัศน์ร่วม 3. หาเพื่อนร่วมทาง ทำเป็นเครือข่าย 4. เรียนลัด 5. สร้างการเปลี่ยนแปลงด้าน 6. จัดพื้นที่หรือเวที ยุทธศาสตร์เชิงบวก 7. พัฒนาคนผ่านการทำงาน 8. ระบบให้คุณ 9. สร้างและใช้ความรู้ในการทำงาน 10. จัดทำขุมความรู้ 3

  42. องค์ความรู้สำหรับนักการศึกษาองค์ความรู้สำหรับนักการศึกษา 1.รู้จัก Learning Styles - เรียนรู้แบบโครงงาน/ เรียนรู้เพื่อพัฒนาสมอง/ การสร้างสรรค์ด้วยปัญญา/เรียนรู้ด้วยการวิจัย 2.รู้จัก Learning How to Learn - รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร/ How to Search 3. รู้จักใช้ตัวช่วย(ICT for Learning) 5

  43. ตัวอย่าง websitesดีๆเพื่อการเรียนรู้ www.funderstanding.com ของสหรัฐ www.kmi.or.thสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม www.sofweb.vic.edu.auของออสเตรเลีย www.charuaypontorranin.com 6

  44. โพลสำรวจจุดเด่น ด้อยครูไทยปี2549มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สำรวจเนื่องในวันครู16 มกราคม • ด้านบุคลิกภาพ • การแต่งกายเหมาะสมกับอาชีพค่าดัชนี 8.21 • การดูแลสุขภาพให้เข้มแข็ง ดัชนี 7.98 • ความทันสมัย/ทันเหตุการณ์/รู้ข้อมูลข่าวสาร ดัชนี 7.98 • ความรู้ความสามารถในการสอน ดัชนี 7.94 • การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีเข้ากับชุมชนและชาวบ้านได้ ดัชนี 7.92 • มีความเป็นผู้นำดัชนี 7.84 • ความขยันขันแข็ง อดทน ดัชนี 7.83

  45. โพลสำรวจจุดเด่น ด้อยครูไทยปี2549 • อุดมการณ์ จิตสำนึก ความรักในวิชาชีพครู • การไม่เอาเปรียบผู้อื่น มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ดัชนี 7.75 • ความซื่อสัตย์ สุจริต ดัชนี 7.75 • มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของความเป็นครู ดัชนี 7.74 • มีความเมตตา มีจิตใจโอบอ้อมอารี ดัชนี 7.73 • เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์และบุคคลรอบข้าง ดัชนี 7.69 • ความน่าเชื่อถือในการปฏิบัติตนต่อสังคม ดัชนี 7.66 • ความรับผิดชอบต่อเยาวชนและสังคม ดัชนี 7.66

  46. โพลสำรวจจุดเด่น ด้อยครูไทยปี2549 • การเรียนรู้และพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ ดัชนี 7.65 • ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนอย่างเต็มที่ในชั่วโมงเรียน ดัชนี 7.64 • การเอาใจใส่ดูแลให้ความรักต่อนักเรียน ดัชนี 7.61 • การศึกษา ค้นคว้าเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ ดัชนี 7.57 • การรู้จักให้อภัย ดัชนี 7.57 • ความเสียสละต่อบทบาทหน้าที่ การปฏิบัติงาน ดัชนี 7.55 • มีทัศนคติที่ดีต่อนักเรียน เข้าใจนักเรียนดัชนี 7.55 • การเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆ ดัชนี 7.53

  47. โพลสำรวจจุดเด่น ด้อยครูไทยปี2549 • ความประพฤติดี ประพฤติชอบ อยู่ในศีลธรรม ดัชนี 7.50 • การใช้วาจา คำพูดกับนักเรียน ดัชนี 7.46 • มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน สังคม ประเทศชาติ ดัชนี 7.46 • การรู้จักประหยัด ไม่ฟุ้งเฟ้อ ดัชนี 7.45 • การมีส่วนร่วม การช่วยเหลือชุมชนและสังคมดัชนี 7.41 • การแสดงออกทางอารมณ์ การควบคุมอารมณ์ ดัชนี 7.26 • และการเป็นหนี้สิน ดัชนี 6.71

  48. โพลสำรวจจุดเด่น ด้อยครูไทยปี2549 • จากค่าตัวบ่งชี้โดยรวมแสดงถึงดัชนีค่าความเชื่อมั่นของครูไทยปี 2549 อยู่ที่ 7.64 คะแนน • โดยประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อครูไทยในด้านบุคลิกภาพมากที่สุด 8.21 คะแนน • รองลงมาคือการดูแลสุขภาพ 7.98 คะแนน • และความทันสมัย 7.98 คะแนน • ส่วนที่เชื่อมั่นน้อยที่สุด คือการเป็นหนี้สิน 6.71 คะแนน • รองลงมาคือการแสดงออกทางอารมณ์ฯ 7.26 คะแนน • และการมีส่วนร่วมฯ 7.41 คะแนน

  49. 2550โชคดี ปีหมูไฟ ก้าวไกลไปถึง ครูชั้นยอด

More Related