1 / 55

ทัศนคติของผู้บริโภค

ทัศนคติของผู้บริโภค. ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์. ภายใต้โครงการ “ สร้างเสริมประสิทธิภาพการแข่งขันเพื่อการค้าข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ ”. เสนอ. EU-Thailand Economic Cooperation SPF. วันที่ 1 7 ตุลาคม 2550. ความสำคัญและปัญหา.

boris
Download Presentation

ทัศนคติของผู้บริโภค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทัศนคติของผู้บริโภค ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ ภายใต้โครงการ “สร้างเสริมประสิทธิภาพการแข่งขันเพื่อการค้าข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์” เสนอ EU-Thailand Economic Cooperation SPF วันที่ 17 ตุลาคม 2550

  2. ความสำคัญและปัญหา

  3. มูลค่าการค้าเกษตรอินทรีย์โลก 1,343,600 ล้านบาท มูลค้าการค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย 947 ล้านบาท 5-6% ปี 2550 ยุโรป (60%) สหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น ข้าวหอมมะลิ กะทิ ผักสด แป้งมันสำปะหลัง และน้ำตาล ปี 2549 ปี 2550 10% ขยายตลาด ในประเทศ ผู้บริโภคสนใจเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม

  4. ยุโรป บริโภคในประเทศ สหรัฐฯ ข้าวอินทรีย์ ส่งออก ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์เกือบทั้งหมดผลิตเพื่อการส่งออก

  5. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ เพื่อศึกษาคุณลักษณะด้านต่าง ๆ ของสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการ เพื่อศึกษาระดับราคาที่ผู้บริโภคจะยอมรับได้ เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการรับรองมาตรฐานการทำเกษตรอินทรีย์ ข้าว มันสำปะหลัง ล่าง กลาง สูง ระดับผู้บริโภค

  6. ทราบ ความต้องการ พฤติกรรม และทัศนคติ ข้าว มันสำปะหลัง กลาง ใหญ่ เล็ก กำหนดกลยุทธ์ การสร้างเสริมประสิทธิภาพการแข่งขัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการวิจัย ผู้บริโภคข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ที่ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรอินทรีย์ ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล

  7. ทฤษฎีที่ใช้ ตัวแบบโลจิต (Logit Model) เป็นตัวแบบที่นำมาใช้เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตาม(Y) กับตัวแปรอิสระ(X) เมื่อตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพที่มีสองลักษณะ (binary variable หรือ binary outcome) และตัวแปรอิสระเป็นได้ทั้งตัวแปรเชิงปริมาณหรือตัวแปรหุ่น (dummy variable) การวิเคราะห์ตัวแบบโลจิต มีลักษณะเป็นโค้งรูปตัวเอส (S-shaped or Sigmoid Curve) ซึ่งจะทำให้ค่าความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ มีค่าอยู่ในช่วง 0 ถึง 1 ตามคุณสมบัติเบื้องต้นของความน่าจะเป็น และมีความสัมพันธ์ในทางเดียวกัน (monotonic) ระหว่างตัวแปรตามและความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ

  8. ที่มา :Cozzo (2006)

  9. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ต้องปฏิบัติ:เป็นมาตรฐานหรือกฎระเบียบของรัฐ/ประเทศ ซึ่งต้องปฏิบัติเมื่อต้องการนำสินค้าอินทรีย์เข้าไปขายในประเทศนั้นๆ เช่น กฎระเบียบ EEC หมายเลข 2092/91, มาตรฐาน NOP, มาตรฐาน JAS ฯลฯ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เอกชน:เป็นมาตรฐานที่ไม่บังคับ (สมัครใจขอรับรอง) มักเกิดขึ้นก่อนมาตรฐาน/กฎระเบียบของรัฐ เช่น มาตรฐาน Soil Association ของอังกฤษ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1967 • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นๆเช่น มาตรฐาน IFOAM, มาตรฐาน Codex มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ส่วนใหญ่มีหลักการเหมือนกัน แต่ก็มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน ซึ่งผู้ประกอบการต้องรับทราบและปฏิบัติตาม เมื่อต้องการขอรับรองตามมาตรฐานนั้นๆ

  10. กฎระเบียบ EEC2092/91 ของ EU • ยุโรปเป็นตลาดแห่งแรกที่ปกป้องคำว่า “อินทรีย์” ในปี 1991 • เป็นมาตรฐานที่ยาวและมีรายละเอียดมาก และอ่านยาก • เป็นมาตรฐานที่สำคัญที่สุด เพราะ EU เป็นตลาดใหญ่ที่นำเข้าสินค้าอินทรีย์ • องค์กรรับรองต้องได้รับการรับรอง EN45011/ISO65 • มาตรฐาน NOP ของ USA • เริ่มบังคับใช้เมื่อ 21 ตุลาคม 2002 • ส่วนใหญ่จะเข้มงวดน้อยกว่ากฎระเบียบ EU แต่เข้มงวดมากกว่าในบางเรื่อง • การรับรองต้องทำโดยองค์กรรับรองที่ได้รับการรับรองจาก USDA • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ JAS ของญี่ปุ่น • เริ่มบัญญัติขึ้นในปี 2001 • คล้ายกับกฎระเบียบ EU แต่ให้ความสำคัญกับระบบควบคุมภายในมาก • องค์กรรับรองต้องได้รับการรับรองจากกระทรวงเกษตรป่าไม้ และประมง ของญี่ปุ่น กฎระเบียบเกษตรอินทรีย์ของรัฐ การส่งสินค้าเกษตรอินทรีย์ไปยังตลาดทั้ง 3 แห่งนี้ ผลิตภัณฑ์ต้องได้รับการรับรองตามมาตรฐานของประเทศเหล่านี้

  11. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของเอกชนมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของเอกชน • ฉลากอินทรีย์ขององค์กรรับรองเอกชนมักเป็นที่รู้จักและไว้วางใจของผู้บริโภคในประเทศนั้นๆ • ฉลากของบางองค์กรรับรอง มีมาตรฐานที่แตกต่างจากมาตรฐาน/กฎระเบียบของรัฐ โดยมักมีมาตรฐานที่สูงกว่า • ผู้ประกอบการที่ขอรับรองกับองค์กรรับรองเอกชนจึงจะได้รับอนุญาตให้ใช้ฉลากเหล่านี้บนผลิตภัณฑ์ • ฉลากของเอกชนอาจช่วยให้เข้าถึงตลาดส่งออกได้กว้างขึ้น และสินค้ามีราคาดีขึ้น

  12. มาตรฐาน IFOAM: มาตรฐานสำหรับองค์กรรับรอง • เป็นมาตรฐานพื้นฐานสำหรับองค์กรรับรอง (CBs – Certification Bodies) • มีองค์กรรับรองเอกชนประมาณ 30 องค์กร ในหลายประเทศ ที่ได้รับการรับรองจาก IFOAM (ACBs – Accredited Certification Bodies) • สินค้าอินทรีย์ที่ได้รับการรับรองโดย ACBs จะได้รับการยอมรับจาก ACBs ด้วยกันซึ่งช่วยให้ส่งออกสินค้าไปขายโดยใช้ฉลากของ ACBs ในประเทศนั้นๆ ได้ง่ายขึ้น

  13. หลักการการผลิตแบบอินทรีย์ที่ต้องระบุไว้ในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภายในหลักการการผลิตแบบอินทรีย์ที่ต้องระบุไว้ในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภายใน • การจัดการดินอย่างยั่งยืน • ปุ๋ยพืชสด • พืชคลุมดิน, การคลุมดิน • การทำปุ๋ยหมัก (เศษพืช, มูลสัตว์) • การใช้ปุ๋ยแร่ธาตุอย่างระมัดระวัง • ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี (เช่น ห้ามใช้ยูเรีย) • การป้องกันโรคแมลงและเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ • ป้องกันโรค แมลง และวัชพืชด้วยวิธีการเพาะปลูกที่เหมาะสม, วิธีกล, การรักษาแมลงที่เป็นประโยชน์ • การใช้สารกำจัดแมลงชีวภาพอย่างจำกัด • ห้ามใช้สารเคมีกำจัดแมลง • ใช้เมล็ดพันธุ์/กิ่งพันธุ์อินทรีย์ เมล็ดพันธุ์ทั่วไปสามารถใช้ได้ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดเท่านั้น • ห้ามใช้ GMO • การเลี้ยงสัตว์ • การเลี้ยงสัตว์อย่างไม่ทารุณ • ถ้าเป็นไปได้ ใช้อาหารสัตว์อินทรีย์, จำกัดการให้ยา

  14. ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ ระเบียบวิธีวิจัย EU-Thailand Economic Cooperation SPF

  15. 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ผู้บริโภคข้าวและมันสำปะหลังในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประชากร ตัวอย่าง 850 ตัวอย่าง 818 ตัวอย่าง

  16. การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคการแบ่งกลุ่มผู้บริโภค กลุ่มผู้บริโภค ระดับรายได้ ระดับการศึกษา ผู้บริโภคระดับล่าง ต่ำกว่า 10,000 บาท ต่ำกว่าปริญญาตรี ผู้บริโภคระดับกลาง 10000-30,000 บาท ปริญญาตรี ผู้บริโภคระดับสูง สูงกว่า 30,000 บาท สูงกว่าปริญญาตรี

  17. 2. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา 2.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้บริโภค เพศ สถานภาพทางครอบครัว การศึกษา อาชีพปัจจุบัน รายได้ของผู้บริโภค รายได้ของครอบครัว จำนวนสมาชิกในครอบครัว

  18. 2. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา 2.2 ข้อมูลด้านทัศนคติของผู้บริโภคต่อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ความกังวลในการเลือกซื้ออาหาร การให้ความสำคัญในการเลือกซื้ออาหาร ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ ทัศนะคติต่อสินค้า/ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ 2.3 ข้อมูลความต้องการสินค้า/ผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค ปริมาณความต้องการบริโภค รูปแบบการแปรรูปสินค้า/ผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์

  19. 2. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา 2.4 ข้อมูลคุณลักษณะด้านต่างๆ ของสินค้า/ผลิตภัณฑ์ข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการ 2.5 ข้อมูลระดับราคา ของสินค้าข้าวและมันสำปะหลังอินทรีย์ที่ผู้บริโภคจะยอมรับได้ 2.6 ข้อมูลทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการรับรองมาตรฐาน การทำเกษตรอินทรีย์ของสหภาพยุโรป

  20. 3. วิธีการวิเคราะห์ การแบ่งกลุ่มผู้บริโภค บริโภค ไม่บริโภค ต้องการ ไม่ต้องการ

  21. ต้องการ ล่าง กลาง สูง เพศ(S) บริโภค อายุ(Ae) ระดับการศึกษา(E) Logit Model ระดับรายได้(I) ระดับรายได้ของครอบครัว(T) จำนวนสมาชิกในครัวเรือน(N) ความกังวลในความเสี่ยงจากการบริโภคสารเคมีตกค้าง(R) ความกังวลในเรื่องสุขภาพ(H) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ (ผู้บริโภคประเมินตนเอง ) (K) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ (ประเมินจากความรู้ความเข้าใจ) (U) ปริมาณความต้องการ ความเพียงพอของข้อมูลข่าวสาร(In) ความบ่อยครั้งของการซื้ออาหารปลอดภัย (F) คุณลักษณะ ทัศนคติเกี่ยวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์(A) ทัศนะคติต่อการับรองมาตรฐาน ระดับราคา

  22. ผลการศึกษา

  23. 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้บริโภค

  24. 2. ความต้องการบริโภคสินค้าอินทรีย์ของผู้บริโภคในระดับล่าง ระดับกลาง และระดับสูง 2.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภค ความกังวลเรื่องสารเคมีตกค้าง ความบ่อยครั้งในการซื้ออาหารปลอดภัย ความรู้ (ประเมินตนเอง )

  25. 2.2 ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ ความรู้

  26. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคข้าวอินทรีย์ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคข้าวอินทรีย์ ความรู้

  27. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคมันสำปะหลังอินทรีย์ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคมันสำปะหลังอินทรีย์ ความกังวลเรื่องสุขภาพ ความรู้ (ประเมินตนเอง )

  28. ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคผักและผลไม้อินทรีย์ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคผักและผลไม้อินทรีย์ ความรู้

  29. 2.3 ความต้องการของผู้บริโภค ปัจจัยที่ทำให้เลือกบริโภค

  30. ความต้องการข้าวอินทรีย์ความต้องการข้าวอินทรีย์

  31. ความต้องการมันสำปะหลังอินทรีย์ความต้องการมันสำปะหลังอินทรีย์

  32. ความต้องการผักและผลไม้อินทรีย์ความต้องการผักและผลไม้อินทรีย์

  33. ปัจจัยที่ทำให้ไม่เลือกบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ปัจจัยที่ทำให้ไม่เลือกบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์

  34. 2.4. ปริมาณความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ ข้าวอินทรีย์ 1 มันสำปะหลังอินทรีย์ ผักและผลไม้อินทรีย์

  35. 3. คุณลักษณะของสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการในระดับ ล่าง กลาง และสูง

  36. คุณลักษณะของสินค้าข้าวอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการคุณลักษณะของสินค้าข้าวอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการ

  37. คุณลักษณะของสินค้ามันสำปะหลังอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการคุณลักษณะของสินค้ามันสำปะหลังอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการ

  38. คุณลักษณะของสินค้าผักและผลไม้อินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการคุณลักษณะของสินค้าผักและผลไม้อินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการ

  39. 4. ระดับราคาสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคยอมรับได้

  40. 5. ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

  41. ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานข้าวอินทรีย์ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานข้าวอินทรีย์

  42. ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานมันสำปะหลังอินทรีย์ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานมันสำปะหลังอินทรีย์

  43. ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานผักและผลไม้อินทรีย์ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานผักและผลไม้อินทรีย์

  44. สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ - ความรู้ / ความบ่อยครั้งในการซื้ออาหารปลอดภัย / ความกังวลเรื่องสารเคมีตกค้าง ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ - ความรู้(ระดับล่างและกลาง), ทัศนคติ(ระดับสูง) ปัจจัยที่ทำให้เลือกบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ • ปลอดจากสารเคมีตกค้าง / ความสะอาดถูกหลักอนามัย (ข้าว/ผลไม้อินทรีย์) • ตรา หรือ ยี่ห้อ(Brand) / การได้รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มันสำปะหลัง) ปัจจัยที่ทำให้ไม่เลือกบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ • หาซื้อยาก / ราคาสูงเกินไป / ไม่รู้จัก/ไม่มีความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์(ทุกระดับ)

  45. สรุปผลการวิจัย คุณลักษณะของสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคต้องการ - ปราศจากสารตกค้าง / บำรุงสุขภาพ(ทุกประเภท ทุกระดับ) ระดับราคาสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผู้บริโภคยอมรับได้ - 14.17% - 19.16% ทัศนะคติของผู้บริโภคต่อการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ • ไม่ให้ความสำคัญ(ยกเว้นข้าวที่ระดับสูงให้ความสำคัญ)

  46. ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ • ผู้ผลิต • ผู้บริโภค • หน่วยงานราชการและองค์กรการศึกษา

  47. ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ • ผู้ผลิต • ต้องมีการประชาสัมพันธ์ / ให้ความรู้ในทุกๆ ขั้นตอนการผลิต เพื่อให้เกิดความ • เชื่อมั่นต่อสินค้าที่จะบริโภค • ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อทุกๆ ขั้นตอนการผลิต เพื่อเป็นหลักค้ำประกันให้เกิด • ความเชื่อมั่นในระยะยาวต่อผู้บริโภค • ต้องมีการคัดเลือกตราสินค้าทั้งในระดับ Local Market / National Market / • International Market เพื่อเป็นการการันตีคุณภาพของสินค้า - ต้องคำนึงถึงจุดขายตั้งแต่ระดับ Local Market / National Market / International Market มิฉะนั้นแล้วเกษตรอินทรีย์จะไม่ยั่งยืน เพราะขาดการ บริโภค ภายในประเทศ

  48. ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ • ผู้ผลิต - ต้องมีการรวมกลุ่มที่เข็มแข็งของเกษตรกร และจำเป็นต้องไม่มีพ่อค้าคนกลาง เพราะผู้ผลิตจะถูกเอารัดเอาเปรียบ • ต้องการหน่วยงานกลางที่ไม่หวังประโยชน์ ให้การรับรองมาตรฐานสินค้า • ของผู้บริโภค - ต้องมีการกำหนดราคาที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล

  49. ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ข้อเสนอแนะในการทำเกษตรอินทรีย์ • ผู้บริโภค • ควรให้ความสำคัญกับตรารับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์

More Related