1 / 50

แนวทางและสถานการณ์การบริหารจัดการในการดูแล ผ . ป.โรคไตวายเรื้อรัง

แนวทางและสถานการณ์การบริหารจัดการในการดูแล ผ . ป.โรคไตวายเรื้อรัง. นพ.สุรพล อริยปิติพันธ์ ผจก.กองทุนโรคไตวาย 30 มิถุนายน 2554. นโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไต. สาระสำคัญมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 ตุลาคม 2550.

zanthe
Download Presentation

แนวทางและสถานการณ์การบริหารจัดการในการดูแล ผ . ป.โรคไตวายเรื้อรัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางและสถานการณ์การบริหารจัดการในการดูแล ผ.ป.โรคไตวายเรื้อรัง นพ.สุรพล อริยปิติพันธ์ ผจก.กองทุนโรคไตวาย 30 มิถุนายน 2554

  2. นโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไตนโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไต สาระสำคัญมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 ตุลาคม 2550 • อนุมัติในหลักการการขยายบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • ให้ตั้งงบประมาณในกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพิ่มเติมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 เป็นต้นไป • สำหรับปีงบ 2551 ให้ใช้งบประมาณจากการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ปี 2550 ที่เหลือ

  3. นโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไตนโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไต สาระสำคัญมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 ตุลาคม 2550

  4. นโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไตนโยบายสิทธิประโยชน์ในการบริการทดแทนไต สาระสำคัญมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 30 ตุลาคม 2550 • ประมาณการงบประมาณที่ต้องใช้ในระยะ 10 ปี ดังนี้ ปี พ.ศ. 2551 จำนวนประมาณ 836 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2552 จำนวนประมาณ 2,466 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2553 จำนวนประมาณ 3,445 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2554 จำนวนประมาณ 5,727 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2555 จำนวนประมาณ 7,896 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2556 จำนวนประมาณ 9,956 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2557 จำนวนประมาณ 11,916 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2558 จำนวนประมาณ 13,778 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2559 จำนวนประมาณ 15,550 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2560 จำนวนประมาณ 17,236 ล้านบาท

  5. แนวทางการพัฒนาระบบบริการทดแทนไตฯ(2551-2555)แนวทางการพัฒนาระบบบริการทดแทนไตฯ(2551-2555) ให้ผู้ป่วย PD/KT ฟรี และ HD ร่วมจ่ายแบบ fix rate ขยายบริการและเริ่มต้นที่ PD ทุกรายที่ไม่มีข้อห้าม เป้าหมายภายในปี 2555 มีผู้ป่วย PD 50% ของผู้ป่วย RRT ทั้งหมด พัฒนาระบบ PD/HD/KT มีมากเพียงพอ, ได้มาตรฐาน, เป็นธรรมในการเข้าถึง และบริหารงบอย่างมีประสิทธิภาพ ให้มีการควบคุมและพัฒนาคุณภาพ ควบคู่กับการวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูล ให้บริการทดแทนไตควบคู่กับการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมโรค DM/HT เพื่อป้องกัน ESRD ให้ผู้ป่วย, ครอบครัว, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสังคมมีส่วนร่วม

  6. เหตุผลในการเลือกใช้นโยบาย CAPD First • จากสถิติของต่างประเทศพบว่าในระยะยาว อัตราการรอดชีวิตระหว่าง CAPD และ HD จะไม่แตกต่างกันและวิธี CAPD จะมีการสภาพการเสื่อมของไตช้ากว่า • CAPD จะมีความเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยมากกว่า เนื่องจากสามารถทำได้เองที่บ้าน และพบแพทย์เพียงเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งแตกต่างจากวิธี HD ซึ่งต้องพึ่งพาหน่วยบริการ และต้องมีการเดินทางสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง • CAPD จะใช้ทรัพยากรสาธารณสุขน้อยกว่าวิธี HD มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะที่บุคคลากรสาธารณสุขของประเทศในภาพรวมยังมีไม่เพียงพอและอัตราการผลิตก็ยังไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งจะมีผลกระทบต่อเรื่องคุณภาพบริการตามมา

  7. เหตุผลในการเลือกใช้นโยบาย CAPD First • ระบบบริการสาธารณสุขของเมืองไทย มีโครงสร้างเหมาะสมในให้บริการ CAPD เนื่องจากมีระบบบริการปฐมภูมิกระจายไปทั่วทุกพื้นที่ในเขตชนบทและมีระบบเครือข่ายในการส่งต่อกับโรงพยาบาลที่แข็งแรง และทัศนคติของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก็เอื้อในการส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ • ในทางเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากต้นทุนของ CAPD มากกว่าครึ่งจะเป็นค่าน้ำยาล้างไตทางช่องท้องซึ่งหากมีผู้ป่วยจำนวนมาก จะทำให้สามารถลดราคาลงได้มาก เทียบกับวิธี HD ซึ่งต้นทุนส่วนใหญ่จะเป็นค่าบุคลลากรและเทคโนโลยี จึงไม่สามารถลดราคาต้นทุนลงได้มาก • ในส่วนของผู้ป่วยจะประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาเดินทางได้มากกว่า เนื่องจากมาพบแพทย์เพียงเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งต่างจากวิธี HD ซึ่งต้องพบแพทย์เดือนละอย่างต่ำ 9-10 ครั้ง

  8. สรุปสิทธิประโยชน์ผู้ป่วยในการบำบัดทดแทนไตสรุปสิทธิประโยชน์ผู้ป่วยในการบำบัดทดแทนไต (ฟรี) ผ่าตัด / รับยากดภูมิ ผ.ป.KT (จ่ายเงินเอง) (ยกเว้นยา EPO) HD ไม่ยอมทำ CAPD (Copay) HD ไม่ยอมทำ CAPD ทำ PD ได้ (ฟรี) CAPD ผ.ป.ใหม่ มี Indication เปลี่ยนเป็น HD(ชั่วคราว / ถาวร) ผ.ป.HD เก่า (ฟรี) HD ทำ PD ไม่ได้ มี Contraindication ทำ PD ไม่ได้ (ชั่วคราว / ถาวร) 8 (ผ.ป.HD เก่า คือผู้ป่วยที่ทำ HD ตั้งแต่ก่อน 1 ต.ค.2551 และหมายความรวมถึงผู้ที่เคยมีสิทธิ์ประกันสังคมและข้าราชการเดิมด้วย)

  9. จัดบริการผู้ป่วย CAPD 8,000 คน ,HD 8,000 คน , KT รายใหม่ 200 คน และ KT รายเก่า 800 คน ขยาย CAPD สู่เครือข่าย รพช.ขนาดใหญ่,HD เหลือเฉพาะประเภท 2.1 , KT เพิ่มการเข้าถึง Living Donor และยาภูมิหลัง Tx สร้างความเข้มแข็งของกลไกการพัฒนาและควบคุมคุณภาพบริการ CAPD และ HD ผ่าน สปสช.เขต ขยายการผลิต พัฒนาศักยภาพบุคลากร และแก้ปัญหาการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ CAPD ขยายนำร่องการจัดตั้ง CKD clinic และเน้นการควบคุมป้องกัน DM/HT ศึกษาทางเลือก Conservative /Supportive Rx ในผู้ป่วย ESRD สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูล การวิจัย R2R และการประเมินผล 4 ปีนโยบาย RRT ของไทย กรอบเป้าหมายและแผนงาน RRT ปี 2555 9

  10. งบกองทุนไตวาย 3,857.893 ลบ. งบชดเชยบริการ3,835.833 ลบ. งบพัฒนาระบบ22.06ลบ. CAPD 12,273 คน HD-criteria 2,443 คน HD co-pay 3,869 คน HD รายใหม่รับยา EPO1,553 คน KT+Immuno1092คน งบประมาณการกองทุนโรคไตวายปีงบประมาณ 2555

  11. หน่วยบริการ โปรแกรม สกส. โปรแกรม DMIS ผู้บริหาร ข้อมูลการจ่ายชดเชยน้ำยา CAPD, ยา EPO สกส. สปสช. Data F/U HD Data RG.HD องค์การเภสัชฯ Data RG.PD,HD,KTData F/U PD, KT ข้อมูลการให้บริการที่ประมวลผลเพื่อคำนวณการจ่ายชดเชย ข้อมูลการจ่ายชดเชยยา EPO กองทุนโรคไตวาย ข้อมูลยอดการให้บริการและการจ่ายชดเชย ข้อมูลที่ประมวลผลเพื่อการบริหารจัดการ ข้อมูลการจ่ายชดเชย ชดเชย อุทธรณ์ ชดเชย ปกติ องค์การเภสัชฯ ข้อมูลเพื่อการจ่ายชดเชย ข้อมูลการอุทธรณ์ ข้อมูลยอดการให้บริการและการจ่ายชดเชย น้ำยาCAPD ส.กองทุน/การเงิน จ่ายชดเชยค่าบริการฯ อุทธรณ์ จ่ายชดเชยยา EPO บ้านผู้ป่วยฯ จ่ายชดเชยยา EPO หน่วยบริการ ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยไตวาย

  12. สถานการณ์ผู้ป่วย RRT

  13. ผลงานการให้บริการ RRT ทุกประเภท ภาพรวมประเทศ (ผู้ป่วย UC) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน หมายเหตุ:ประมาณการตามหลักวิชาการ เป็นประมาณการความชุกผู้ป่วยที่เหมาะสมจะทำ RRT ตามอุบัติการณ์ 300 ต่อล้านประชากรต่อปีจำนวนผู้ป่วยมีชีวิตจริง เป็นจำนวนความชุกของผุ้ป่วย ณ สิ้นปีงบประมาณ (สำหรับในปีปัจจุบัน ณ 5 เมษายน 2554)

  14. จำนวนความชุกของผู้ป่วย RRT เปรียบเทียบแต่ละเขตพื้นที่ (ผู้ป่วย UC) ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  15. Three years of implementation (2008 – March 2011) : Results • 4 New CAPD Technology and Training Centers • 267 New PD Nurses • 110 New PD Service Centers cover every province. • 11,400 New PD Patients

  16. Data of RRT patients in 2007 TRT Registry 2008, Thailand

  17. Annual Prevalence Trend of RRT in Thailand 1997 1998 1999 2000 2001 2003 2004 2005 20062007 2008 TRT Registry 2008, Thailand

  18. PD Trend in Thailand %

  19. จำนวนสะสมของผู้ป่วย RRT ภาพรวมประเทศ(ผู้ป่วย UC) ข้อมูล ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2554

  20. เปรียบเทียบจำนวนสะสมของผู้ป่วย PD, HD, KT ภาพรวมประเทศ(ผู้ป่วย UC) ข้อมูล ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2554

  21. เปรียบเทียบจำนวนสะสมของผู้ป่วย PD, HD, KT ภาพรวมประเทศ(ผู้ป่วย UC) ข้อมูล ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2554

  22. เปรียบเทียบอัตราส่วนผู้ป่วย PD : HD (ผู้ป่วย UC) ข้อมูล ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2554

  23. เปรียบเทียบจำนวนผุ้ป่วย HD ในผู้ป่วยรายเก่า (Copay) ผู้ป่วยรายใหม่ (Criteria) และผู้ป่วยจ่ายเงินเอง (Self pay) ผู้ป่วย UC ข้อมูล ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2554

  24. Hematocrit in PD Patients(October 09-May 10) * *, p < 0.0001

  25. Proportion of patients: Hematocrit levelStable CAPD(> 3 months) * * P < 0.05

  26. ระบบบริการ PD

  27. เปรียบเทียบการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วย PD เทียบกับ PD Unit ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  28. เปรียบเทียบจำนวน PD Unit ที่มีจำนวนผู้ป่วยจำนวนต่างกัน ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  29. เปรียบเทียบจำนวน PD Unit ของหน่วยบริการระดับต่างกัน ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  30. เปรียบเทียบภาระงานของหน่วยบริการและพยาบาล PD ของแต่ละเขต สปสช. ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  31. เปรียบเทียบภาระงานของแพทย์ผ่าตัดวางสายของแต่ละเขต สปสช. ข้อมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2554

  32. Survival Function ผู้ป่วย CAPD เปรียบเทียบการเสียชีวิตและการเปลี่ยน Mode เป็น HD

  33. Survival Function ผู้ป่วย CAPD เปรียบเทียบการเสียชีวิตในหน่วยแต่ละขนาด

  34. Survival Function ผู้ป่วย CAPD เปรียบเทียบการเสียชีวิตในหน่วยแต่ละประเภท

  35. Survival Function ผู้ป่วย CAPD เปรียบเทียบการเปลี่ยน Mode เป็น HD ในหน่วยแต่ละประเภท

  36. Survival Function ผู้ป่วย CAPD เปรียบเทียบการเสียชีวิตในหน่วยบริการแต่ละ Phase

  37. ระบบบริการ HD

  38. เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนหน่วยระหว่างกลุ่มหน่วยบริการที่ให้บริการผู้ป่วยในจำนวนที่แตกต่างกันเปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนหน่วยระหว่างกลุ่มหน่วยบริการที่ให้บริการผู้ป่วยในจำนวนที่แตกต่างกัน

  39. เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนผู้ป่วยระหว่างกลุ่มหน่วยบริการที่ให้บริการผู้ป่วยในจำนวนที่แตกต่างกันเปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนผู้ป่วยระหว่างกลุ่มหน่วยบริการที่ให้บริการผู้ป่วยในจำนวนที่แตกต่างกัน

  40. เปรียบเทียบจำนวนหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทหน่วยบริการ

  41. เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยในหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทหน่วยบริการ

  42. เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนผู้ป่วยในหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทหน่วยบริการ

  43. เปรียบเทียบจำนวนหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทการทำสัญญา (เฉพาะภาคเอกชน)

  44. เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทการทำสัญญา (เฉพาะภาคเอกชน)

  45. เปรียบเทียบอัตราส่วนจำนวนผู้ป่วยในหน่วยบริการที่ให้บริการ HD ตามประเภทการทำสัญญา (เฉพาะภาคเอกชน)

  46. ระบบบริการ KT

  47. ผู้ป่วยลงทะเบียนปลูกถ่ายไตสะสม ตุลาคม 2551 - มกราคม 2554 ข้อมูล ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554

  48. ผู้ป่วยลงทะเบียนปลูกถ่ายไตสะสม ตุลาคม 2551 - มกราคม 2554

  49. ปัญหาและอุปสรรค/สิ่งที่ต้องเฝ้าระวังปัญหาและอุปสรรค/สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง • ภาระงานที่เพิ่มขึ้นในแต่ละหน่วยบริการ CAPD • การรอคิวผ่าตัดวางสาย TK • การจ่ายค่าภาระงานในการทำ CAPD • การหา Donor สำหรับผู้ป่วย KT • คุณภาพในการบริการ CAPD / HD • การเปลี่ยน Mode จาก PD เป็น HD ที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์

  50. สวัสดีครับ

More Related