160 likes | 377 Views
การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Management). ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์. หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจ-การคลังสำหรับนักบริหารระดับกลาง (รุ่นที่ 2) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงการคลังกับสถาบันพระปกเกล้า. ประเด็นสำคัญ. ผลกระทบของการปฏิรูประบบราชการ กลยุทธ์การบริหารความเปลี่ยนแปลง ข้อสังเกตปิดท้าย.
E N D
การบริหารความเปลี่ยนแปลง(Change Management) ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์ หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจ-การคลังสำหรับนักบริหารระดับกลาง (รุ่นที่2)ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงการคลังกับสถาบันพระปกเกล้า
ประเด็นสำคัญ • ผลกระทบของการปฏิรูประบบราชการ • กลยุทธ์การบริหารความเปลี่ยนแปลง • ข้อสังเกตปิดท้าย
เส้นทางความเปลี่ยนแปลงเส้นทางความเปลี่ยนแปลง Citizen-Centered Government Ministerial Restructuring Departmental Re-Engineering • Redefining the Government Mission • Reconfiguring the Ministries • Redesigning the New Business Models Departmental Enlargement • . Rightsizing • . Right-scoping Make it Smart • . BPR • . Change Management • . Extended Scope of Business • . Regulatory Framework Make it Lean Make it Better Make it Big .
W ORK EVOLUTION ความเปลี่ยนแปลงในการวางแผนยุทธศาสตร์ LINEAR SCENARIO EFFECTIVENESS CHANGE CLUSTER ACROSS THE SECTORS STRECTH TARGET BENCHMARKING HISTORIC METRIC FORWARD-LOOKING METRIC
Scenario analysis ดาวอับแสง ดาวค้างฟ้า IMP– ศึกษาและเปรียบเทียบประยุกต์ best practice การบริหารจัดการการผลิต/การค้าของประเทศคู่แข่งขัน - ศึกษาติดตามความเปลี่ยนแปลงความต้องการของประเทศคู่ค้า - ออกแบบสินค้า/บรรจุภัณฑ์/การบริการใหม่ CBMP– พัฒนาและส่งเสริม brand ของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการไทยให้เป็นที่เชื่อถือในระดับโลก - ประยุกต์ใช้ ICT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ Logistics - ส่งเสริมการค้าและการส่งออกอย่างต่อเนื่อง QMP – ควบคุมมาตรฐานการผลิตให้ได้รับการเชื่อถือจากผู้รับซื้อทั้งในและต่างประเทศอย่างยั่งยืน - ส่งเสริมให้เป็นศูนย์กลางการผลิต/ค้าในภูมิภาคถึงระดับโลก PMP– พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเทคโนฯการผลิต,องค์ความรู้การบริหารจัดการ,ข้อมูลข่าวสารฯ - มีความร่วมมือภายในประเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต การบริการและสินค้าการเกษตรอย่างต่อเนื่อง IMP– R&D ผลิตภัณฑ์ใหม่ - R&D ตลาด (ขยายตลาดเดิม, เจาะตลาดใหม่) CBMP– ส่งเสริมสนับสนุนการเพิ่มมูลค่าในชุมชน - ส่งเสริมการการผลิตในรูปแบบข้อตกลง/ตลาดล่วงหน้า - ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติในอุตสาหกรรมแปรรูปที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง (ได้เทคโนฯและมีตลาดติดมาด้วย) QMP – ควบคุมปริมาณการผลิต (Zoning, จดทะเบียนเกษตรกร, สนับสนุนให้ปรับเปลี่ยนการผลิต) - มาตรการส่งเสริมการลงทุน การส่งออก PMP– พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้อง (ผู้ผลิต, ผู้ประกอบการแปรรูป/ส่งออก, สถาบันการเงิน, สถาบันการศึกษาและหน่วยงานภาครัฐในการกำหนดเป้าหมายและกลยุทธ์การดำเนินงาน สูง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการผลิต หลุมดำ ดาวรุ่ง IMP– R&D พันธุ์,ปัจจัยการผลิต,เทคโนฯการผลิต,เทคโนฯหลังการเก็บเกี่ยว,เครื่องจักรกลการเกษตร CBMP– ขยายปริมาณการผลิต(พื้นที่การผลิต)ในประเทศ-เพื่อนบ้าน - เพิ่ม ปสภ.การผลิต (yield, คุณภาพ, ต้นทุน) - พัฒนากระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยว - ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเพิ่ม ปสภ.การผลิตได้อย่างยั่งยืน - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นให้เพียงพอ (น้ำ,ศ.คัดคุณภาพ-บรรจุหีบห่อ, ตลาดกลาง warehouse) QMP – ปรับโครงสร้างภาษีปัจจัยการผลิตทางการเกษตรเพื่อลดต้นทุนให้แก่เกษตรกร - ส่งเสริมการลงทุนในต่างแดน PMP– รวมกลุ่มผู้ผลิตรายย่อยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและจัดการผลผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของคู่ค้า - ให้ความร่วมมือ/ช่วยเหลือในการพัฒนาการเกษตรแก่ประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียน IMP– R&D พืชทางเลือกใหม่/ระบบการทำฟาร์มที่เหมาะสม - R&D กิจกรรมทางเลือกใหม่นอกภาคเกษตร CBMP– ส่งเสริมการเกษตรยังชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมกิจกรรมทางเลือกใหม่ใน/นอกภาคเกษตร QMP – มาตรการจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนการผลิต - มาตรการส่งเสริมการลงทุนนอกภาคเกษตรเพื่อเพิ่มรายได้และการจ้างงานในชนบท PMP– เครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมทางเลือกใหม่ให้ชุมชน - เครือข่ายตลาดแบบพึ่งพาตนเองระหว่าง/ในชุมชน ต่ำ ต่ำ สูง ความต้องการของตลาดและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
W ORK EVOLUTION ความเปลี่ยนแปลงเรื่องวิธีการงบประมาณ Strategic Performance Based Strategic Program Based
W ORK EVOLUTION ความเปลี่ยนแปลงด้านเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากร Knowledge Worker Technocrat
ดังนั้น เราจึงต้องบริหารความเปลี่ยนแปลง • การบริหารความเปลี่ยนแปลง มีหัวใจอยู่ที่ การเปลี่ยนผ่านจากสิ่งเก่าไปสู่สิ่งใหม่ • และการเปลี่ยนผ่านให้สิ่งใหม่ เกิดการสานต่อ ปรับตัวจนบรรลุเป้าประสงค์ • ผลสำเร็จของการบริหารความเปลี่ยนแปลง จึงอยู่ที่เมื่อดำเนินการแล้ว ต้องเพิ่มขีดความสามารถของส่วนราชการ
เปลี่ยนปรุง-เปลี่ยนแบบ-เปลี่ยนโฉมเปลี่ยนปรุง-เปลี่ยนแบบ-เปลี่ยนโฉม • เปลี่ยนปรุง คือ การเปลี่ยนส่วนประกอบของปัจจัยนำเข้าเพื่อส่งผลให้กระบวนการเกิดการเปลี่ยนแปลง • เปลี่ยนแบบ คือ การเปลี่ยนแบบแผนการไหลเลื่อนของกิจกรรมเพื่อให้เกิด C&S (Consequence & Sequel) ใหม่ • เปลี่ยนโฉม คือ การเปลี่ยนองค์ประกอบของผลผลิตหรือการสร้างผลผลิตอย่างใหม่ที่ให้คุณค่า (Value Proposition) ที่แตกต่างจากเดิม ในระดับพื้นผิว หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์ที่ทำให้เกิดการรับรู้ที่แตกต่างจากเดิม
ตัวแบบแสดงภาพรวมของการบริหารความเปลี่ยนแปลงตัวแบบแสดงภาพรวมของการบริหารความเปลี่ยนแปลง • เราต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดบ้าง? Change Goal • ความเปลี่ยนแปลงในเรื่องนั้น เรียกร้องให้เราต้องทำอะไรบ้าง? Change Demand • เราได้ดำเนินการในเรื่องใดไปบ้างแล้ว? • เรายังไม่ได้ดำเนินการในเรื่องใด? Change Readiness and Gap Demand Alignment Sense of Urgency Think Feel Change Agent and Alliance Quick Win Program Supply
ผู้นำ คือ บุคคลที่มีคุณลักษณะในการเหนี่ยวนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม โดยการใช้อำนาจและอิทธิพล (Power & Influence) จึงมีความเชื่อกันว่า การบริหารความเปลี่ยนแปลงต้องการผู้นำ ด้วยเหตุผลดังนี้ • บอกทิศทาง (Pathfinder) ด้วยวิสัยทัศน์และการยืนยันในลำดับความสำคัญ • หลอมรวมพลัง (Integration) ด้วยการผสานพลังผนึกและผลักดันการทำงานแบบคู่ขนานที่สอดรับกัน • เป็นแบบอย่าง (Role Model) ด้วยการสร้างความไว้วางใจและอยู่เหนืออารมณ์ • เป็นกระบอกเสียง (Speaker) ด้วยการสื่อสารและสร้างขวัญกำลังใจในการหยัดยืน หากผู้นำไม่สามารถแสดงบทบาททั้ง 4 ประการนี้ อาจเท่ากับว่า ผู้นำเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาที่ต้องเปลี่ยนแปลงเสียเอง
ผู้นำ คือ บุคคลที่มีคุณลักษณะในการเหนี่ยวนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตาม โดยการใช้อำนาจและอิทธิพล (Power & Influence) INTEGRATOR PATHFINDER ROLE MODEL SPEAKER ส่งผลให้เกิด พลังคานงัด พลังคานงัด (leverage) หมายถึง กิจกรรมที่ผู้นำลงมือทำแล้วก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ บริหารในสามลักษณะ ประการแรก ส่งผลให้เกิดการใช้ความพยายามเพิ่มขึ้น ประการที่สอง ส่งผล ให้เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีการที่คาดไม่ถึงและประการที่สาม คือ ส่งอิทธิพลต่อหน่วยงานข้างเคียง