370 likes | 1.05k Views
แผนภูมิ Gantt Chart. เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานไม่ซับซ้อน ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานได้อย่างชัดเจน ไม่สามารถบอกว่างานใดที่ปฏิบัติการล่าช้า
E N D
แผนภูมิ Gantt Chart • เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนและกำหนดเวลาในการทำงานไม่ซับซ้อน • ไม่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างงานได้อย่างชัดเจน • ไม่สามารถบอกว่างานใดที่ปฏิบัติการล่าช้า • ถ้าเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีระบบงานที่กระจายเป็นระบบย่อย ๆ และมีจำนวนมาก มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ซับซ้อน จึงมักนำเทคนิคของเพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม(CPM)มาประยุกต์การใช้งานมากกว่า
งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์)งาน งานที่ต้องทำเสร็จก่อน เวลา(สัปดาห์) A - 3 B - 5 C B 3 D A C 4 E D 8 F C 2 G F 4 H F 2 I B 5 J E G H 3 ตัวอย่างตารางการดำเนินงาน
แผนภูมิแบบแกนต์ Gantt chart ABCDEFGHI J งานที่ดำเนินการเสร็จแล้ว งานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เวลา(สัปดาห์) 5 10 13 15 20 23 25
เพิร์ต(PERT) และซีพีเอ็ม(CPM) การบริหารโครงการด้วยการวางแผน ควบคุมโดยใช้เทคนิค เพิร์ตPERT (Program Evaluation and Review Technique ) และซีพีเอ็ม CPM ( Critical Path Method) เป็นการวิเคราะห์ข่ายงานที่มักนำมาใช้การบริหารโครงการที่มีจุดเริ่มต้นของโครงการจนถึงปิดโครงการ มีส่วนย่อยต่างๆ ที่มีการกระจายโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
หลักการของ PERT และ CPM • หลักการของเพิร์ตPERT และซีพีเอ็ม CPM จะมีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน • เพิร์ตPERT เน้นด้านเวลาในการดำเนินโครงการ • ซีพีเอ็ม CPM จะเน้นด้านค่าใช้จ่ายของโครงการ • ปัจจุบันได้มีการนำมาใช้งานร่วมกัน โดยใช้คำว่า เพิร์ตPERT หรือ การนำเทคนิค CPM มาใช้งานร่วมกัน
สรุป PERT • เน้นเวลาในการดำเนินโครงการ CPM • เน้นด้านค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ
วัตถุประสงค์ของ PERT PERT เป็นแผนงานที่สามารถแสดงภาพรวม ของโครงการด้วยข่ายงาน (Network) โดยแสดงกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการ ลำดับการทำงาน และความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
วัตถุประสงค์ของ PERT 1. วางแผนโครงการ ( Project Planning ) โดยจะทำการคำนวณระยะเวลาการทำงาน และแสดงถึงกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ว่าควรเริ่มเมื่อใด เสร็จเมื่อใด และสามารถกำหนดได้ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมสำคัญ ทำงานล่าช้าไม่ได้ หรือล่าช้าได้ไม่เกินเท่าใด
วัตถุประสงค์ของ PERT ควบคุมโครงการ ( ProjectControl) สามารถควบคุมการทำงานตามแผนที่ได้วางไว้ และควบคุมการทำงานไม่ให้ล่าช้ากว่ากำหนด บริหารทรัพยากร ( Resoures ) สามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่นเงินทุน บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ และอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประโยชน์เต็มที่ บริหารโครงการ ( ProjectManagement ) งานที่ดำเนินการอยู่อาจจำเป็นต้องเร่ง เพื่อแล้วเสร็จกว่ากำหนด ก็สามารถทำได้ด้วยการเร่งกิจกรรมใดบ้าง เพื่อให้งานแล้วเสร็จในระยะเวลาที่เร็วขึ้น
สัญลักษณ์ต่าง ๆ และความหมายที่ใช้ใน PERT คือจุดเชื่อม node ที่แสดงถึงเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มแรกโครงการจนจบโครงการ เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรม หรืองานที่ทำ หัวลูกศรคือจุดเสร็จสิ้นของกิจกรรมหรืองานนั้น A 1 2 เส้นประที่เชื่อมระหว่างโหนด แสดงถึงกิจกรรมหรืองานสมมุติ () เป็นกิจกรรมที่ไม่มีตัวตนในโครงการ แต่จำเป็นต้องใส่ไว้เพื่อให้ถูกต้องกับความเป็นจริง 3 4
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B A C A D B,C ตัวอย่าง PERT แบบที่ 1 3 B A 1 2 5 D C 4 6
ตัวอย่าง PERT แบบที่ 2 C งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B - C A D B E C,D A 4 2 1 6 D E B 3 5 7
ให้นักศึกษาเขียน Pert จากตารางดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์) A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 ให้นักศึกษาเขียน Pert จากตารางดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2
เฉลยตารางที่ 1 งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์)A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2 สายงานที่ 1 1-2-3-7=2+3+3=8 สายงานที่ 2 1-4-7 = 1+3=4 สายงานที่ 3 1-5-6-7 = 1+2+2 =5 D,3 5 A,2 G,3 2 B,1 E,3 1 3 7 F,2 C,1 4 H,2 6
เฉลยตารางที่ 1 สายงานวิกฤต(Critical Paths)จะพิจารณาจากสายงานที่มีเวลานาน หรือยาวที่สุด ซึ่งในที่นี้คือสายงาน 1-2-3-7 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 วัน นั้นหมายถึง การดำเนินงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอนจะแล้วเสร็จภายใน 8 วัน โดยในโครงการอาจมีสายงานวิกฤตมากกว่า 1 สายงานก็เป็นได้
เฉลยตารางที่ 1 การเร่งโครงการ สายงานวิกฤต คือ สายงานที่มีระยะเวลานาน ซึ่งถือเป็นสายงานที่มีความสำคัญ หากงานหรือกิจกรรมภายในสายงานวิกฤตช้ากว่าที่กำหนดไว้ในโครงการ นั่นหมายถึง โครงการก็จะเสร็จล่าช้าไปด้วย ดังนั้นการควบคุมโครงการจึงมีความจำเป็นต้องควบคุมกิจกรรมในสายงานวิกฤตให้เป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 เฉลยตารางที่ 2
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,13 E,8 B,8 5 6 I,14 F,10 7 เฉลยตารางที่ 2 สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=31 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 8+8+13=29 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 8+10+14=32
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 1 4 8 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,10 7 สายงาน1-3-7-8 ประกอบด้วยกิจกรรม B,F,I ปรากฏว่ากิจกรรม B มีค่าใช้จ่ายต่อวันต่ำ ดังนั้นจึงทำการเร่งกิจกรรม B เหลือ 6 วัน สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+13=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+13=27 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม B ก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H โดยค่าใช้จ่ายของกิจกรรม H ต่ำสุด คือ 100 บาท ดังนั้นจึงเลือกกิจกรรม H ด้วยการเร่งเวลาจาก 13 วัน เป็น 12 วัน
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 เฉลยตารางที่ 2
C,9 2 3 G,13 A,7 D,11 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B และH สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+11+12=30 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+10+14=30
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม Hก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-5-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A D H และสายงาน 1-3-7-8ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม B F I โดยเส้นทางที่หนึ่งกิจกรรม D จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุดคือ 125 บาท และเร่งได้อีก 2 วัน ส่วนเส้นทางที่สอง กิจกรรม F จะมีค่าใช้จ่ายต่ำสุด คือ 100 บาท เร่งได้อีก 3 วัน โดยจะทำการเร่งกิจกรรม D และ F ลง 2 วัน ซึ่งกิจกรรม F สามารถเร่งเร็วขึ้น 3 วันก็ตาม แต่ก็ไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จเร็วขึ้น ซึ่งหากเร่งกิจกรรม F เป็น 3 วัน ก็จะมีผลทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(วัน) ค่าใช้จ่ายในการเร่งงาน 1 วัน (บาท) ปกติ เร่ง A - 7 6 150 B - 8 6 75 C A 9 7 200 D A 11 9 125 E B 8 5 115 F B 10 7 100 G C 13 11 200 H D,E 13 12 100 I F 14 10 125 เฉลยตารางที่ 2
C,9 2 3 G,13 A,7 D,9 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B H D และF สายงานที่ 1 1-2-3-9=7+9+13=29 สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 7+9+12=28 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+8+14=28
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการเร่งกิจกรรม D และ Fก็ยังไม่ได้ทำให้โครงการเสร็จตามกำหนด ดังนั้นจึงต้องเร่งกิจกรรมอื่น โดยสายงานวิกฤตในที่นี้คือ 1-2-4-8 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม A C G โดยค่าใช้จ่ายของกิจกรรม A มีต่ำสุดวันละ 150 บาทดังนั้นจึงเลือกกิจกรรม A ด้วยการเร่งเวลาจาก 7 วันเป็น 6 วัน
2 3 G,13 A,6 D,9 9 8 1 4 H,12 E,8 B,6 5 6 I,14 F,8 7 เร่งกิจกรรม B H D FและA C,9 สายงานที่ 1 1-2-3-9=6+9+13=28สายงานที่ 2 1-2-4-8-9 = 6+9+12=27 สายงานที่ 3 1-5-6-8-9 = 6+8+12=26 สายงานที่ 4 1-5-7-9 = 6+8+14=28
ผลที่ได้รับ หลังจากที่ได้ทำการลดกิจกรรม AB D Fและ H จึงทำให้โครงการเสร็จภายใน 28 วัน ตามแผนที่ได้กำหนดไว้ โดยจะได้สายงานวิกฤตอยู่ 2 สาย และมีจำนวนวันยาวนานที่สุดคือ 28 วัน และค่าใช้จ่ายต้องเพิ่มจากการเร่งงาน ดังตาราง
กิจกรรมที่เร่ง จำนวนวัน ค่าใช่จ่ายต่อวัน รวม(บาท) A 1 150 150 B 2 75 150 D 2 125 250 F 2 100 200 H 1 100 100 รวมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งโครงการ 850 รายละเอียดค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งโครงการเป็น 28 วัน