1 / 7

ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ในประเทศ

ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ในประเทศ. ส่วนสารอันตราย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. 1. การติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว.

lamar-james
Download Presentation

ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ในประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการดำเนินงานต่อไป และการจัดทำโครงการติดตามตรวจสอบสาร POPsระยะยาว ในประเทศ ส่วนสารอันตราย สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ 1

  2. การติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว สอดคล้องกับแผนการติดตามตรวจสอบระดับโลก (Global Monitoring Plan) และระดับภูมิภาค เพื่อสนับสนุนการประเมินความมีประสิทธิผลตามข้อบทที่ 16 ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ  ได้ข้อมูลที่เป็นระบบเดียวกันและเปรียบเทียบกันได้  เพื่อให้ทราบแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับสาร POPs ตามกาลเวลา  เพื่อให้ทราบข้อมูลการเคลื่อนย้ายของสาร POPs ในระดับภูมิภาคและระดับโลก 2

  3. จัดตั้งสถานที่เก็บตัวอย่างสำหรับเป็นสถานีเก็บตัวอย่าง super site เพื่อดำเนินการเก็บตัวอย่าง ambient air ในระยะยาว remote site (reflecting long-range transport) frequent monitoring (เก็บตัวอย่างเดือนละ 1 ครั้ง) ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบัติการไทย (background level) target : สาร pesticide POPs 9 ชนิด กล่าวคือ aldrin; chlordane; DDT; dieldrin; endrin; heptachlor; hexachlorobenzene; mirex และ toxaphene และสาร POPs ชนิดใหม่ 2 ชนิด คือ hexachlorocyclohexaneและpentachlorobenzene เป้าหมายการดำเนินงาน

  4. ปี 2557 ดำเนินกิจกรรม cooperative monitoring ร่วมกับกระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่น คัดเลือกพื้นที่สถานีเก็บตัวอย่างที่เหมาะสม (remote/electricity) ทดลองเก็บตัวอย่างและตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในประเทศไทย โดยมีผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่นให้การสนับสนุนเป็นพี่เลี้ยง ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของไทยด้านการเก็บตัวอย่าง ambient air โดยใช้ high volume sampler แบ่งตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการของไทย และห้องปฏิบัติการในญี่ปุ่น เพื่อเทียบผลการตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพ แนวทางการดำเนินงานในเบื้องต้น

  5. ปี 2558 เริ่มดำเนินกิจกรรมติดตามตรวจสอบสาร POPs ระยะยาว ณ สถานีเก็บตัวอย่างที่เหมาะสม ตามผลการศึกษา ในปี 2557 อาจมีการประสานเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างระหว่างประเทศในภูมิภาคเป็นระยะ ๆ กรมควบคุมมลพิษ อยู่ระหว่างหารือเพิ่มเติมกับผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่น เกี่ยวกับแนวทางการเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศไทยด้านการตรวจวิเคราะห์และติดตามตรวจสอบสาร POPs แนวทางการดำเนินงานในเบื้องต้น (ต่อ)

  6. ประเด็นการดำเนินงานต่อไปในภาพรวม ด้านการตรวจวิเคราะห์และการติดตามตรวจสอบสาร POPs การศึกษาวิจัย การตรวจวิเคราะห์และติดตามตรวจสอบสาร POPs ชนิดใหม่ โดยเฉพาะสาร POPs ด้านอุตสาหกรรม อาทิ สารกลุ่ม PFOS, กลุ่ม PBDEs และ hexabromocyclododecane การติดตามตรวจสอบสาร POPs ในตัวอย่างเลือด และน้ำนมมารดา การรวบรวมฐานข้อมูล/จัดทำศูนย์ข้อมูลการติดตามตรวจสอบสาร POPs อย่างเป็นระบบ 6

  7. ศูนย์ประสานงานอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯศูนย์ประสานงานอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตรายกรมควบคุมมลพิษโทรศัพท์: 0 22982427, 2439โทรสาร: 0 22982442e-mail: chem@pcd.go.th • http://pops.pcd.go.th • http://www.pcd.go.th

More Related