1 / 68

แนวโน้มอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในตลาดโลก ปี 2556

แนวโน้มอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในตลาดโลก ปี 2556. เสวนา ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค สุขุมวิท 22 7 มีนาคม 2556. นายกิดดิวงค์ สมบุญธรรม เลขาธิการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ. ขอขอบคุณ. นายกสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก น.สพ.บุญเพ็ง สันติวัฒนธรรม. นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

Download Presentation

แนวโน้มอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในตลาดโลก ปี 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในตลาดโลก ปี 2556 เสวนา ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค สุขุมวิท 22 7 มีนาคม 2556 นายกิดดิวงค์ สมบุญธรรม เลขาธิการสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ

  2. ขอขอบคุณ นายกสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก น.สพ.บุญเพ็ง สันติวัฒนธรรม นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป น.สพ.ไชยศักดิ์ บุญประสพธนโชติ

  3. หัวข้อบรรยาย  ตลาดภายในประเทศ ตลาด AEC   ตลาด โลก (EU , US )  ส่งออก – นำเข้า ???

  4. ราคาสินค้าปศุสัตว์ ราคาไก่เนื้อหน้าฟาร์ม Δ 3.1% ต่อปี ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์มΔ 4.9% ต่อปี ราคาไข่ไก่คละ Δ 5.5% ต่อปี ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย , 2555 *ม.ค.-ส.ค.

  5. ตลาดภายใน ราคาขาย& ต้นทุนการผลิต บาท : กก. 58.66 65.06 57.97 58.08 55.15 52.83

  6. โครงสร้างอุตสาหกรรมสุกรของไทย โครงสร้างอุตสาหกรรมสุกรของไทย 2555 2556 (f) 14.70 ล้านตัว 13.90 การผลิต 95% ของการผลิต 95% บริโภคในประเทศ ของการผลิต 5% 5% ส่งออก โรงงาน 8 8 โรงเชือดส่งออก โรงงาน 28 โรงงานแปรรูปส่งออก 26 ที่มา : การผลิต จากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ, การส่งออก จากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  7. ข้อมูลประเทศในกลุ่มอาเซียน ปี 2554 • หมายเหตุ : *ข้อมูลประเทศไทย ปี 2555 • ที่มา : ข้อมูลปริมาณการผลิตสุกรของไทยจาก อนุกรรมการวิเคราะห์การผลิตและการตลาดสุกร (Pig Board)

  8. โครงการเสริมสร้างความพร้อมด้านการจัดระเบียบบริหารการค้ารองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สินค้าสุกร ที่มา : FAS USDA, Livestock and Poultry: World Market and Tradeหมายเหตุ : ประเทศไทยข้อมูลจากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก รวบรวมโดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 11

  9. ศักยภาพของประเทศในอาเซียนศักยภาพของประเทศในอาเซียน • ประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตสุกรสูง (ผลิตเพื่อบริโภคและพร้อมส่งออก) ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ • ประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตสุกรในอนาคต(ผลิตเพื่อบริโภคและทดแทนการนำเข้า)พม่า เขมร ลาว • ประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตสุกรไม่มาก มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน

  10. ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้ายาสัตว์ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้ายาสัตว์ ของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น และเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าปี 2012

  11. ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ของไทยและตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ของไทยและ ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นและเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า ปี 2012 * ยังไม่ได้กำหนดว่าจะลดถึง 0% ในปีใด

  12. ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ (ไข่ ไก่ เป็ด สุกรและอาหารสัตว์ ) ของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น และเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า

  13. 1/2 ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ของไทยและ ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นและเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า * ยังไม่ได้กำหนดว่าจะลดถึง 0% ในปีใด

  14. ตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ของไทยและตารางการลดภาษีนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ของไทยและ ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นและเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า 2/2 * ยังไม่ได้กำหนดว่าจะลดถึง 0% ในปีใด

  15. ประเด็นการพิจารณาเตรียมรับ AEC ในสินค้าสุกร ในมุมมองของกรมการค้าต่างประเทศ • ขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงสุกร เพื่อติดตาม Supply ในประเทศ • พัฒนาฟาร์มเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน • รวมกลุ่มผู้เลี้ยงสุกร และพัฒนาระบบสารสนเทศ • ป้องกันโรคและส่งเสริมวิจัยพันธุ์กรรมสุกร • พัฒนาการขนส่งสัตว์และซากสัตว์ • ส่งเสริมการส่งออกผลิตภัณฑ์และเนื้อสุกรPremium • พัฒนาสถานที่จำหน่ายสุกรชำแหละ (เขียงสะอาด) • พัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูป • ให้ความรู้และข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้บริโภค • ใช้มาตรการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน • จัดระเบียบการนำเข้า

  16. ประเทศผู้ผลิตสุกรที่สำคัญของโลกประเทศผู้ผลิตสุกรที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน +เพิ่ม/-ลด 2.71%2.34% -1.57% 2.28% ที่มา : USDA , ของไทย จากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  17. การบริโภคเนื้อสุกร

  18. การบริโภคเนื้อสุกรเฉลี่ยต่อคนต่อปีการบริโภคเนื้อสุกรเฉลี่ยต่อคนต่อปี กิโลกรัม กก./คน/ปี ที่มา : USDA, (ของไทย สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก)

  19. การบริโภคเนื้อสุกรที่สำคัญบางประเทศการบริโภคเนื้อสุกรที่สำคัญบางประเทศ หน่วย : พันตัน ที่มา : USDA , ของไทย จากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  20. การส่งออก และตลาดเป้าหมาย  การส่งออกเนื้อสุกรของไทย ตลาดเป้าหมายส่งออกในอนาคต

  21. การส่งออกเนื้อสุกรของไทยในปัจจุบันการส่งออกเนื้อสุกรของไทยในปัจจุบัน 2554 2555 2556 (f) % (+/-) 55/56 สด(ตัน) 886 878 1,000 12.8 (ล้านบาท) 79 46 52 12.8 แปรรูป (ตัน) 15,353 16,600 4.21 15,554 (ล้านบาท) 3,624 3,577 3,728 4.21 รวม(ตัน) 16,432 16,239 17,000 4.69 3,703 3,623 3,780 4.32 (ล้านบาท) ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  22. ตลาดส่งออกเนื้อสุกรของไทยในปัจจุบันตลาดส่งออกเนื้อสุกรของไทยในปัจจุบัน 2554 (หน่วย : ตัน) ชนิดสินค้า 2555 2556 (f) % (+/-) 55/56 ฮ่องกง 678 สด 753 810 +7.5 ญี่ปุ่น 15,358 ปรุงสุก 15,081 15,700 +4.1 สิงคโปร์ ปรุงสุก 56 96 120 +25 เวียตนาม ปรุงสุก 1.5 2 >100.0 - มาเลเซีย 327 สด 296 350 18.2 อื่นๆ 11 13 18 38.4 รวม 16,432 16,239 17,000 4.69 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  23. พัฒนาการส่งออกเนื้อสุกรของไทยพัฒนาการส่งออกเนื้อสุกรของไทย เป้าหมายส่งออกปี 2556 = 17,000 ตัน มูลค่า 3,780 ล้านบาท หน่วย : ตัน 35 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  24. ประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่สำคัญของโลกประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  25. ประเทศผู้นำเข้าเนื้อสุกรที่สำคัญของโลกประเทศผู้นำเข้าเนื้อสุกรที่สำคัญของโลก หน่วย :พันตัน ที่มา : USDA

  26. ตลาดส่งออกหลักของไทย (ปัจจุบัน)  เนื้อสุกรสด เนื้อสุกรปรุงสุก ฮ่องกง  เนื้อสุกรปรุงสุก ญี่ปุ่น  เนื้อสุกรปรุงสุก สิงคโปร์

  27. แนวโน้มการส่งออกเนื้อสุกรสดของไทยไปฮ่องกงแนวโน้มการส่งออกเนื้อสุกรสดของไทยไปฮ่องกง ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  28. แนวโน้มการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปของไทยไปญี่ปุ่นแนวโน้มการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปของไทยไปญี่ปุ่น ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  29. 33 ตลาดเป้าหมายส่งออกในอนาคต ฮ่องกง ญี่ปุ่น • เกาหลีใต้ • ตลาด AEC • ยุโรป ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  30. อุตสาหกรรมสุกรฮ่องกง 2554 2555 % เพิ่ม/ลด หน่วย : พันตัน ผลิต 126 130 1 นำเข้า 421 481 0.3 2 บริโภค 558 568 - 6 บริโภคต่อคน (กก.) 77 72 ที่มา : USDA.

  31. การนำเข้าเนื้อสุกรของฮ่องกงการนำเข้าเนื้อสุกรของฮ่องกง Source : USDA

  32. อุตสาหกรรมสุกรของญี่ปุ่นอุตสาหกรรมสุกรของญี่ปุ่น หน่วย : พันตัน 2554 2555 % เพิ่ม/ลด ผลิต 1,267 1,275 -0.6 นำเข้า 1,254 1,228 -2.0 -0.8 บริโภค 2,522 2,501 -2.0 บริโภคต่อคน 19.6 19.2 ที่มา : USDA หมายเหตุ : ข้อมูลนำเข้า เป็นการนำเข้าสุกรรวมทุกผลิตภัณฑ์

  33. การนำเข้าเนื้อสุกรของญี่ปุ่นการนำเข้าเนื้อสุกรของญี่ปุ่น หมายเหตุ : เป็นการนำเข้าเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งและผลิตภัณฑ์แปรรูป Source : Japan Customs

  34. อุตสาหกรรมสุกรของยุโรปอุตสาหกรรมสุกรของยุโรป หน่วย : พันตัน 2554 2555 % เพิ่ม/ลด ผลิต 22,938 22,750 -0.8 ส่งออก 2,204 2,280 .04 -0.3 บริโภค 20,564 20,490 -0.4 บริโภคต่อคน 43.2 43.0 ที่มา : USDA

  35. อุตสาหกรรมสุกรของเกาหลีใต้อุตสาหกรรมสุกรของเกาหลีใต้ หน่วย : พันตัน 2554 2555 % เพิ่ม/ลด ผลิต 837 1,067 27 นำเข้า 640 550 -14 7 บริโภค 1,487 1,594 3 บริโภคต่อคน 28.1 29.0 ที่มา : USDA หมายเหตุ : ข้อมูลนำเข้า เป็นการนำเข้าสุกรรวมทุกผลิตภัณฑ์

  36. การนำเข้าเนื้อสุกรของเกาหลีใต้การนำเข้าเนื้อสุกรของเกาหลีใต้ Source : Japan Customs

  37. การนำเข้าเนื้อสุกรของอาเซียนการนำเข้าเนื้อสุกรของอาเซียน Source : FAO

  38. ~59 ฿ ~66 ฿

  39. or ~66 ฿ or ~52 ฿

  40. ~69 ฿ ~69 ฿ ~69 ฿ ~86 ฿

  41. Exchange Rate At 2-3-2013 • 1U.S. 29.99 Baht • 1E.U. 39.28 Baht • 1Yuan 4.94 Baht • 1Korn(Denmark) 5.25 Baht • 1ปอนด์ 45.47Baht • 1South Korea0.0318Baht • 1Phillippines 0.77 Baht

  42. ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าเครื่องในสุกรจากต่างประเทศ ปี 2548-2555 หน่วย:ตัน ที่มา : กรมศุลกากร

  43. ปัญหาและอุปสรรคส่งออกปัญหาและอุปสรรคส่งออก  โรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) กฎระเบียบระหว่างประเทศ (SPS) มาตรฐานเนื้อสุกรของไทย ฟาร์ม โรงงานชำแหละ

  44. โรคปากและเท้าเปื่อย (FMD) ต้องลดลง หรือไม่มี FMD PRRs

  45. เกิดความสูญเสียต่อเกษตรกรและผู้ผลิตเกิดความสูญเสียต่อเกษตรกรและผู้ผลิต ความสูญเสียทางผลผลิต (สัตว์ป่วยและตาย) ความสูญเสียด้านงบประมาณในการควบคุม และกำจัดโรคระบาด ส่งออกเนื้อสัตว์ (โค สุกร) ไม่ได้ ผลกระทบของ FMD ต่อเศรษฐกิจของไทย สร้างความเสียหายอย่างมากต่อเกษตรกรและเศรษฐกิจ ของประเทศ คิดเป็นมูลค่าปีละกว่า 10,000 ล้านบาท ผลกระทบโดยตรง ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

More Related