120 likes | 347 Views
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน. ที่มาของปัญหา. ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาตามบันทึกเลขเสร็จ 100/2543 ให้ความเห็นว่า “หญิงซึ่งเป็นผู้ตั้งครรภ์แทนและคลอดทารกจึงเป็นมารดาที่ชอบด้วยกฎหมายของทารก” โดนอ้าง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15.
E N D
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทนปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
ที่มาของปัญหา • ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาตามบันทึกเลขเสร็จ 100/2543 ให้ความเห็นว่า “หญิงซึ่งเป็นผู้ตั้งครรภ์แทนและคลอดทารกจึงเป็นมารดาที่ชอบด้วยกฎหมายของทารก” โดนอ้าง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 • สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
ประเด็นที่จะต้องทำการพิจารณาประเด็นที่จะต้องทำการพิจารณา • 1. สัญญารับจ้างตั้งครรภ์มีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม่ • 2. บุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของใคร
1. สัญญารับจ้างตั้งครรภ์มีผลบังคับตามกฎหมายหรือไม่ • มีกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้องดังนี้ • 1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 “การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ”
ประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศสประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศส • มาตรา 16-7 บัญญัติว่า “ข้อตกลงใดๆ ในการให้กำเนิดหรือการตั้งครรภ์สำหรับผู้อื่นตกเป็นโมฆะ” • Art.16-7 All agreements relating to procreation or gestation on account of a third party are void.
ปัจจุบันมีร่างพระราชบัญญัติการตั้งครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์มาตรา 18 บัญญัติให้มีการตั้งครรภ์แทนได้ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย
2.บุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของใคร2.บุตรที่เกิดจากการรับจ้างตั้งครรภเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของใคร
กฎหมายที่เกี่ยวข้องประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 “เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้สมรสกับชาย ให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น”
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 “ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้นและภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรคสอง แต่ลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดังต่อไปนี้ (1) ผู้สืบสันดาน .......
คณะกรรมการแห่งยุโรป (European Commission)ได้เห็นชอบต่อรายงานข้อเสนอแนะชื่อ “Principles set out in the report of the Ad Hoc Committee of Experts on Progress in the Biomedical Sciences (CAHBI)”(1989)อันมีหลักการที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์แทน ในข้อที่ 15 “ถือว่าหญิงที่ให้กำเนิดย่อมเป็นมารดาตามกฎหมายของเด็ก”
ปัจจุบันมีร่างพระราชบัญญัติการตั้งครรภ์โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์มาตรา 24 บัญญัติให้การตั้งครรภแทนที่ชอบด้วยกฎหมายถือว่าเด็กเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของสามีภริยาที่ประสงค์จะให้มีการตั้งครรภ์แทน • มาตราที่ 25 บัญญัติให้การตั้งครรภ์แทนที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของชาย หญิงที่ตั้งครรภ์แทน