1 / 24

การจัดการระบบสารสนเทศ Management Information Systems : MIS:3563137

การจัดการระบบสารสนเทศ Management Information Systems : MIS:3563137. ผู้สอน : อาจารย์ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร ปัจจุบัน : รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประธานสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

Download Presentation

การจัดการระบบสารสนเทศ Management Information Systems : MIS:3563137

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการระบบสารสนเทศManagement Information Systems : MIS:3563137 ผู้สอน: อาจารย์ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร ปัจจุบัน: รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประธานสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ อดีต: รองคณบดีวางแผนและวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เบอร์โทรศัพท์ : 08-6024-4980; 08-6885-8250 E-mail: phraisit.rru@gmail.com Facebook: Librru phrisit Web: http://www.phrisityok.wordpress.com

  2. วิชา3563137การจัดการระบบสารสนเทศวิชา3563137การจัดการระบบสารสนเทศ Management Information Systems : MIS:3563137 By PhraisitSrisoothigerdporn.

  3. คำอธิบายรายวิชา 3563137 การจัดการระบบสารสนเทศ Management Information Systems : MIS ศึกษาความสำคัญของระบบสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศในองค์การ โครงสร้างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารระบบสารสนเทศ ระบบสำนักงานอัตโนมัติ ระบบสารสนเทศในองค์การธุรกิจ ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการในด้านการวางแผน การควบคุม การตัดสินใจ

  4. กิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมศึกษาด้วยตนเองเป็นหลัก 70% 1. อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. ศึกษาทฤษฎีจากหนังสือ&INTERNET 3. เขียนรายงานการค้นคว้า เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. นำเสนอหน้าชั้นเรียน 5. ตอบคำถามและแบบทดสอบท้ายบท 6. สอบกลางภาค สอบปลายภาค30% จากหนังสือและฟังคำบรรยาย

  5. สรุปเนื้อหาในหนังสือ3/2554สรุปเนื้อหาในหนังสือ3/2554 บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ บทที่ 3 ฐานข้อมูล และคลังข้อมูล บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บทที่ 6 บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ บทที่ 7 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ บทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง บทที่ 9 ปัญญาประดิษฐ์ ระบบผู้เชียวชาญ และระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

  6. สรุปเนื้อหาในหนังสือ3/2554สรุปเนื้อหาในหนังสือ3/2554 บทที่ 10 ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ บทที่ 11 ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์การ บทที่ 12 การพัฒนาระบบสารสนเทศ บทที่ 13 เทคโนโลยีและการจัดการความรู้ บทที่ 14 จริยธรรมและการรักษาความปลอดภัยของระบบสนเทศ

  7. สรุปเนื้อหาในหนังสือ บทที่ 1 ภาพรวมระบบสารสนเทศ บทที่ 2 แนวคิดเชิงระบบ บทที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ บทที่ 4 องค์กรและการจัดการกับระบบสารสนเทศ บทที่ 5 การตัดสินใจ บทที่ 6 การจัดการข้อมูล บทที่ 7 ระบบประเมินผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ บทที่ 9 ระบบผู้เชี่ยวชาญ บทที่ 10 ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ บทที่ 11 การวางแผนระบบสารสนเทศ บทที่ 12 การสรรหาและการพัฒนาระบบสารสนเทศ บทที่ 13 การพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี บทที่ 14 จริยธรรมและการรักษาความปลอดภัยของระบบสนเทศ

  8. ตารางคำกริยาที่บ่งถึงประเภทและระดับพฤติกรรมในการเขียนจุดประสงค์การสอนตารางคำกริยาที่บ่งถึงประเภทและระดับพฤติกรรมในการเขียนจุดประสงค์การสอน

  9. สรุป “แนวการสอน”วิชา การจัดการระบบสารสนเทศ 3/2554(วันอาทิตย์กลุ่ม 5216330501,5316340501 จำนวน 7 คน คิดเป็น 100%)

  10. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) • เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด หรือพฤติกรรมทางด้านสมองของบุคคล ในอันที่ทำให้มีความเฉลียวฉลาด มีความสามารถในการคิดเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา การเรียนการสอนในปัจจุบันยังเน้นในด้านนี้มากพฤติกรรมทางพุทธิพิสัย แบ่งได้เป็น 6 ระดับ ได้แก่

  11. 1. ความรู้ความจำ • เป็นความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และระลึกสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ เปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวีดิทัศน์ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่าง ๆ ได้ สามารถเปิดฟัง หรือ ดูภาพเหล่านั้นได้ เมื่อต้องการ

  12. 2. ความเข้าใจ • เป็นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อได้ และสามารถแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ หรือ การกระทำอื่น ๆ

  13. 3. การนำความรู้ไปใช้ • เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนำไปใช้ได้ เช่น นำหลักของการใช้ภาษาไทยไปใช้สื่อความหมายในชีวิตประจำวันได้ถูกต้องและเหมาะสม

  14. 4. การวิเคราะห์ • เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สำคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน

  15. จิตพิสัย (Affective Domain) • เป็นพฤติกรรมทางด้านจิตใจ ซึ่งจะเกี่ยวกับค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ และคุณธรรมพฤติกรรมของผู้เรียนในด้านนี้อาจจะไม่เกิดขึ้นทันที ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องใช้วิธีปลูกฝังโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา เพื่อทำให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ด้านจิตพิสัย จะประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ได้แก่

  16. 1. การรับรู้ • เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฎการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น

  17. 2. การตอบสนอง • เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว

  18. 3. การเกิดค่านิยม • เป็นการเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม ซึ่งจะแสดงออกมาในรูปของการยอมรับนับถือในคุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

  19. 4. การจัดรวบรวม • เป็นการสร้างแนวคิดและจัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้น ซึ่งจะรวบรวมค่านิยมเหล่านั้น โดยอาศัยความสัมพันธ์กับสิ่งที่ยึดถือ เพื่อใช้เป็นหลักในการพิจารณาในเรื่องต่าง ๆ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไป แต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับค่านิยมใหม่ หรืออาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่าไปก็ได้

  20. 5. สร้างลักษณะนิสัยตามค่านิยมที่ยึดถือ • เป็นการนำค่านิยมที่ยึดถือนั้นมาใช้ เป็นตัวควบคุมพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัวของตน ให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม

  21. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) • พฤติกรรมการเรียนรู้ที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญพฤติกรรมด้านนี้จะเห็นได้จากกระทำ ซึ่งแสดงผลของการปฏิบัติออกมาได้โดยตรง โดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะที่เกิดว่ามีมากน้อยเพียงใดการที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย ผู้เรียนจะต้องพร้อมที่จะใช้อวัยวะต่าง ๆ • พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ขั้น ดังนี้ การรับรู้ กระทำตามแบบการหาความถูกต้อง กระทำอย่างต่อเนื่อง การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ

  22. ตัวอย่างของการตั้งจุดประสงค์ทั่วไปตัวอย่างของการตั้งจุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับหลักการการจัดการระบบสารสนเทศ บอกความหมาย,บอกหลักการ,บอกวิธีปฏิบัติ,บอกองค์ประกอบ,บอกรูปแบบ ฯลฯ 2.เพื่อให้เกิดความเข้าใจในกระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศ อธิบาย,บรรยายขยายความ,แยกข้อแตกต่าง,แปลความหมาย,คาดคะเน,พยากรณ์ ฯลฯ 3.เพื่อนำไปใช้ตรวจสอบและพิจารณาเลือกการจัดการระบบสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม แก้ปัญหา,หาจุดบกพร่อง,บอกวิธีการแก้ไข,โดยกำหนด,ปรับปรุงปฏิบัติ,เขียนแผนงาน ฯลฯ 4.เพื่อสามารถวิเคราะห์การจัดการระบบสารสนเทศได้ ชี้ข้อดีข้อเสีย,วางหลักการ,เขียนกำหนดการ,เขียนแผนการ,จัดลำดับขั้นตอน ฯลฯ 5.เพื่อสังเคราะห์การประเมินผลการจัดการระบบสารสนเทศแบบใหม่ เปลี่ยนแปลง,ปรับปรุง,ประดิษฐ์,ออกแบบ, ฯลฯ 6.เพื่อประเมินค่าเกี่ยวกับการจัดการระบบสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง พิจารณาเปรียบเทียบ เลือก,ตัดสิน, ฯลฯ

  23. ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นอธิบายความหมายคำเหล่านี้ความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นอธิบายความหมายคำเหล่านี้ Data= Information= System= Management= Information System= Information Technology= NATIS= Information is power=

  24. หัวข้อรายงาน 1. อดีต ปัจจุบัน & อนาคตเทคโนโลยี 2. ระบบสารสนเทศ ในกลุ่มประเทศอาเซียน 3. ระบบสารสนเทศในเอเชีย 4. ระบบสารสนเทศในยุโรป 5. ระบบสารสนเทศในอเมริกา 6. สารสนเทศและLifeStyleในกลุ่มประเทศ อาเซียน(พม่า,กัมพูชา,เวียดนาม,ลาว...ฯลฯ)

More Related