1.01k likes | 2.77k Views
การ เรียนรู้แบบใช้ ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้( Community-based Learning). ดร.บุญสืบ โส โสม 20 พฤษภาคม 2553. What is Community-based Learning?. Community-based learning blends what students learn in class with real-world experiences.
E N D
การเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้(Community-based Learning) ดร.บุญสืบ โสโสม 20 พฤษภาคม 2553
What is Community-based Learning? • Community-based learning blends what students learn in class with real-world experiences. • Students are challenged to link the theories they have learned to the realities in the field. http://www.fandm.edu/communitybasedlearning
What is Community-based Learning? (cont.) • The relationship between the community and the students is reciprocal, in that students provide a valuable service to the community, but also learn from the community. • The aim of Community-based Learning programs is to make students more aware of and active in their community http://www.fandm.edu/communitybasedlearning
What is Community-based Learning? (cont.) The CBL as a concept to descript process of collective and collaborative learning, which are based on sociocultural learning concepts and focus on the role of group membership or community participation for (collective and individual) learning. Fischer & Rohde & Wulf, 2007
What is Community-based Learning? (cont.) CBL is defined as a unique type of experiential or service learning with an emphasis not on service but on students working in partnership with local nonprofit organizations or government agencies. (Schamber,J.F., 2008)
What is Community-based Learning? (cont.) CBL providing not only the educational results described in the literature on service learning but also incorporative innovative strategies for students to gain real-world insight into the cause and effects of a social problem by working in the community. (Schamber,J.F., 2008)
What is Community-based Learning? (cont.) • Community-based learning (CBL) integrates service to the community with classroom learning in order to help students develop personal skills and a sense of civic responsibility as well as academic skills. Ibrahim,M (2010)
What is Community-based Learning? (cont.) Community Based Learning (CBL) คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้จากการได้ปฏิบัติงานจากสถานการณ์จริงของชุมชน http://www.stanford.edu/~arnetha/pdf/community-based/Behavioral_Science_Publication.pdf
What is Community-based Learning? (cont.) • community – based learning คือ การเรียนรู้จากชุมชน • community – based learning คือ การเรียนรู้จากชุมชน เช่น การไปศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม, การทำมาหากิน, หัตถกรรม, การศึกษาพยาบาลแบบพื้นบ้าน จากบุคคล และองค์กรในชุมชนนอกเหนือไปจากการเรียนในโรงเรียน วิทยากร เชียงกูล. อธิบายศัพท์สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, กรุงเทพฯ : สายธาร, 2550.
คำที่มีความหมายใกล้เคียง/เหมือนกันคำที่มีความหมายใกล้เคียง/เหมือนกัน • Community - based education • Work-based education • Practice - based learning • Experiential learning • Authentic learning
สรุปความหมายของ CBL หน้าที่สถาบันการศึกษา หลักสูตรกำหนด การเรียนรู้ในห้องเรียน ความรู้จากทฤษฎี ความรู้สำหรับสังคม ความรู้สำหรับการปฏิบัติ นวัตกรรม การเรียนรู้จากโลกของความเป็นจริง ความรู้จากการปฏิบัติ การให้บริการความรู้จากประสบการณ์ การหยั่งรู้ (insight) ความรับผิดชอบต่อสังคม ทักษะทางสังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต กระบวนการกลุ่ม การมีส่วนร่วมของกลุ่ม, SDL, active collaboration การจัดการความรู้ Participation action research
วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL • เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำงานได้กับทุกภาคส่วนในสังคม • เพื่อให้นักศึกษาเกิดการหยั่งรู้ในโลกของความเป็นจริงมากขึ้น เข้าใจการปฏิบัติของบุคคลที่มีต่อสังคม และการเมืองมากขึ้น • เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น • เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจกระบวนการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) • เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อน เรียนรู้วัฒนธรรมสำหรับการปฏิบัติงาน และสามารถปฏิบัติงานได้ • เพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษา
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL University of Colorado (Fischer & Rohde, Wulf, 2007) บริบทของมหาวิทยาลัย • ดำเนินการโดยทีม Center for Lifelong Learning and Design. • เป็นมหาวิทยาลัยเปิดสำหรับคนทั่วโลก เปิดฟรีสำหรับอาจารย์ผู้สอน แหล่งการเรียนรู้ นักศึกษาให้เรียนรู้ด้วยตนเอง • เปิด website ให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงสื่อ วิดีทัศน์ ฯลฯ
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) • สมรรถนะหลักของมหาวิทยาลัยคือ เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย มีการประสานความร่วมมือกับชุมชน โดยจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุน “learning to-be” และ “learning when the answer is not known” • มีสถาบันสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างสาขา (interdisciplinary) และ ข้ามสาขา (transdisciplinary)
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอน • เพื่อให้นักศึกษาทำโครงการตามที่ตนเองสนใจ และค้นหาความรู้ที่เกิดจากงานของตนเอง • ใช้วิธีการเรียนแบบ peer to peer learning และเข้าไปในชุมชน ให้รางวัลสำหรับการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกับคนอื่น และการทำงานร่วมกับคนอื่น ๆ ในโครงการ • ให้โอกาสในการร่วมมือทำงานข้ามสาขาวิชา ได้แก่ การรวมกลุ่มกับนักเรียนต่างสาขาวิชาในทุกระดับ (ปริญญาตรี และหลังปริญญาตรี)
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) • จัดสิ่งแวดล้อมด้านการให้ข้อมูล เพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • จัดสื่อการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นบทสรุปการเรียนรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 1. การเรียนแบบ Courses-as-seed model • เป็นการจัดการศึกษาที่สร้างให้นักศึกษามีวัฒนธรรมของการสืบค้นความรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยมหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ • นักศึกษาเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้เอง สะท้อนคิดการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน (reflective practitioners) ที่ตนเองพบว่ามีปัญหาที่ต้องการเรียนรู้ และต้องการสืบค้น
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 1. การเรียนแบบ Courses-as-seed model (ต่อ) • มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความรู้ใหม่ที่เกิดจากความเข้าใจจากการศึกษาร่วมกัน จนกระทั่งเกิดมุมมองใหม่ในกรอบความคิดของปัญหาที่ต้องการศึกษาร่วมกัน จนกระทั่งเกิดการประสานความร่วมมือในการเรียนรู้ร่วมกัน (collaborative learning)
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) การเรียนแบบ Courses-as-seed model (ต่อ) • วัตถุประสงค์ของการเรียนแบบ courses-as-seeds model คือ • เพื่อให้นักศึกษามีกิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง (authentic learning) การเรียนรู้ด้วยตนเอง (self-directed learning) • เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ในบริบทของ real-world activities • เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสาขาวิชา (ปัญหาที่เกิดขึ้นในโลกของความเป็นจริงต้องการความรู้ระหว่างสาขาในการแก้ปัญหา) • เพื่อสนับสนุนการเรียนแบบ peer-to peer learning
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 1. การเรียนแบบ Courses-as-seed model (ต่อ) • ให้นักศึกษาทุกระดับได้เรียนรู้ร่วมกัน • ให้ประสบการณ์ที่หลากหลายกับนักศึกษาด้วยการเชิญ guest lectures ที่หลากหลาย • ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ประเมินตนเอง (self-assessment) 8. ส่งเสริมให้ใช้สื่อใหม่ ๆ เทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรม
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 1. การเรียนแบบ Courses-as-seed model (ต่อ) บทบาทของอาจารย์ คือ guide on the side เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนตามทิศทาง การสืบค้นความรู้เพื่อนำมาสู่กาค้นหาคำตอบในสิ่งที่ นักศึกษายังไม่รู้
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 2. การเรียนวิชาวิจัยในนักศึกษาระดับปริญญาตรี • จัดสิ่งแวดล้อมที่เป็นการวิจัยโดยจัดทีมวิจัยให้ทั้งในระดับเดียวกัน และระดับสูงกว่า และเป็นความร่วมมือของนักวิจัยระหว่างสาขาวิชา เรียนรู้แบบลงมือทำงานร่วมกันกับพี่เลี้ยงในชุดโครงการวิจัยซึ่งเป็นโครงการระยะยาว
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 3.Transdisciplinary education เพื่อให้นักศึกษาได้ความรู้ที่ลึกซึ้ง สร้างความรู้ใหม่ซึ่งเป็นความรู้ระหว่างสาขาวิชาจนเกิดการเปลี่ยนสภาพเอกลักษณ์ของความรู้ในสาขาวิชา (transform the disciplinary identities) ที่เกิดจากการร่วมมือกันของนักวิจัยข้ามสาขาวิชาเพื่อแก้ปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการประสานความร่วมมือในการแก้ปัญหาร่วมกัน
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) 4. การสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (social network: lifelong learning) เพื่อให้นักศึกษามีความผูกพันกับมหาวิทยาลัย “ ไม่ได้เป็นศิษย์เก่าเพื่อหาเงินทอง แต่เพื่อการถักทอให้เป็นการเรียนรู้ที่ใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้” โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ศิษย์เก่าได้มีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัย
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) การประเมินหลักสูตร/โครงการ ใช้ทั้งวิธีการเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม บันทึกการเรียนรู้ การประเมินผลตนเอง
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL 1. การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม มีการเปลี่ยนแปลงค่านิยม พฤติกรรม เป้าหมายที่มีต่อการจัดการศึกษา 2. เกิดการประสานความร่วมมือในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเรียนรู้กัน เกิดการเรียนรู้จากเพื่อน จากสมาชิกกลุ่ม 3. นักศึกษามีความสุขในการประเมินตนเอง
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) การเรียนการสอนสามารถตอบสนอง กรอบแนวคิด • การเข้าใจคนอื่น ๆ ในทีม • การเกิดกลุ่มความสนใจการปฏิบัติที่เหมือน ๆ กัน (communities of practice) • กลุ่มที่สนใจประเด็นการเรียนรู้ที่เหมือนกัน (communities of interest) • การสร้างสรรค์สังคม
ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL (ต่อ) • การเรียนการสอนสามารถตอบสนองกรอบแนวคิด (ต่อ) 5. ความมั่นใจในการอภิปรายความรู้ และทักษะการปฏิบัติงาน 6. มีการผสมผสานความรู้กันระหว่างเพื่อน และนักศึกษาใน ระดับต่าง ๆ 7. เกิดการประสานความร่วมมือในการทำงาน 8. ให้ความสำคัญในการประชุมอภิปรายความรู้ที่เรียนรู้ ร่วมกัน
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ หน้าที่สถาบันการศึกษา เนื้อหาการเรียน ความรู้จากทฤษฎี ความรู้สำหรับสังคม ความรู้สำหรับการปฏิบัติ นวัตกรรม การเรียนรู้จากโลกของความเป็นจริงการฝึกปฏิบัติ, การให้บริการ ความรู้จากประสบการณ์ การหยั่งรู้ (insight) ความรับผิดชอบต่อสังคม ทักษะทางสังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต กระบวนการกลุ่ม การมีส่วนร่วมของกลุ่ม, SDL, active collaboration การจัดการความรู้ Participation action research
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ (ต่อ) ความรู้ในเนื้อหาในห้องเรียน/ความรู้ในทฤษฎี กิจกรรมบริการที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ 1. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจของผู้รับบริการ กับผู้ให้บริการมีความเท่าเทียม 2. ประคับประคอง และสนับสนุนบทบาทเพศ 3. ไม่ตอกย้ำการผลิตซ้ำของลักษณะของความเป็นผู้หญิง และความเป็นผู้ชาย
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ (ต่อ) ความรู้ในเนื้อหาในห้องเรียน/ความรู้ในทฤษฎี (ต่อ) กิจกรรมบริการที่มีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ (ต่อ) 4. เปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อของความสัมพันธ์เชิงอำนาจหญิงชายที่มีผลต่อการดูแล 5. เชื่อมต่อบริการภาครัฐกับภาคประชาชน 6. เชื่อมความรู้เกี่ยวกับเพศภาวะ และความรู้ทางชีววิทยาการแพทย์เข้าด้วยกัน
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ (ต่อ) การพิจารณาผลลัพธ์ของกิจกรรมบริการ 1. หญิงชาย เข้าถึงบริการได้ง่าย 2. เป็นบริการสุขภาพที่มีมีความยืดหยุ่นสูง 3. ตอบสนองและตรงต่อความต้องการของทั้งหญิง และชาย 4. มีตัวชี้วัดความสำเร็จของการให้บริการที่มี ความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะ
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ (ต่อ)
ตัวอย่าง CBL เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ (ต่อ)
การเกิดนวัตกรรมด้านผู้ให้บริการการเกิดนวัตกรรมด้านผู้ให้บริการ
การเกิดนวัตกรรมด้านผู้รับบริการการเกิดนวัตกรรมด้านผู้รับบริการ
การเกิดนวัตกรรมด้านผู้รับบริการ (ต่อ) ราวไม้ติดกับแคร่สำหรับฝึกยืน และหัดเดินสำหรับเด็กสมองพิการที่บิดาทำให้ลูก
ตัวอย่างโครงการวิจัยการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการตัวอย่างโครงการวิจัยการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการ ความรู้ในทฤษฎี “แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ (health promotion)” ความหมายตามกฎบัตรออตาวาที่กล่าวถึงการสร้างเสริมสุขภาพว่า “เป็นกระบวนการทางสังคม และการเมืองที่มิได้มุ่งดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างทักษะและความสามารถส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ยังนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขทางสังคม สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจเพื่อลดผลกระทบที่มีต่อสุขภาพของสาธารณชน และบุคคล การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการสร้างเสริมศักยภาพของบุคคลให้สามารถควบคุมตนเอง และสร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นได้” (WHO, 1986)
ตัวอย่างโครงการวิจัยการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการ (ต่อ) • ความหมายที่เป็นมิติทางสังคมและวัฒนธรรม “การสร้างเสริมสุขภาพคือ วิถีของการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง ด้วยหลักการของการเรียนรู้จากการกระทำ (learning by doing หรือ interactive learning through action) เปิดโอกาสให้บุคคลมีประสบการณ์ตรงในกระบวนการคิดวิเคราะห์ ฝึกทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม และใช้การสานเสวนา (dialogue) เป็นเพื่อทำให้บุคคลรู้จักตนเอง ยอมรับผู้อื่น พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา มีความตระหนัก ซึ่งสามารถประเมินได้จากคำพูด และการแสดงว่าบุคคลที่มีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพมีศักยภาพในตนเองที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ” (นิตย์ ทัศนิยม, 2545)
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมนักศึกษาวิชาสร้างเสริมสุขภาพ (ปี 2) กับชมรมวิชาการ (ปี 1-4) ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดการประเมินสภาพเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ และสร้างพันธะสัญญาการมีส่วนร่วมในการพัฒนา “นักศึกษาตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการให้ความหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ และการมีจิตสาธารณะจากการเข้าร่วมโครงการ”
ขั้นเตรียมนักศึกษาเพื่อร่วมศึกษาในระยะวิเคราะห์สถานการณ์วิชาสร้างเสริมสุขภาพ (ปี 2) กับชมรมวิชาการ (ปี 1-4) ประชุมวางแผนการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลส่งเสริมสุขภาพของผู้พิการ และผู้ดูแลผู้พิการร่วมกับ อสม. อบต. และสถานีอนามัย “นักศึกษาปี 2 ฝึกปฏิบัติวิชาสร้างเสริมสุขภาพเข้าร่วมโครงการ”
ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ (ต่อ) เก็บรวบรวมข้อมูลการให้ความหมายของการส่งเสริมสุขภาพจากผู้พิการ ผู้ดูแล และผู้ให้บริการสุขภาพ อสม. อบต. และองค์กรผู้พิการในชุมชน อาจารย์ และนักศึกษาสนทนากลุ่มกับผู้ดูแลเพื่อรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ (ต่อ) น.ศ. ปี 2 ฝึกปฏิบัติงานใน วิชาสร้างเสริมสุขภาพ ได้รับมอบหมายให้ประเมิน สภาพผู้พิการ เพื่อนำข้อมูล ไปสู่การวางแผนการ ส่งเสริมสุขภาพ
ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ (ต่อ) น.ศ. ปี 1 และ 2 ชมรมวิชากร และอาจารย์ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ “การให้ความหมายต่อการสร้างเสริมสุขภาพของผู้พิการ”
ขั้นวิเคราะห์สถานการณ์ (ต่อ) • นำข้อมูลที่ได้ไปให้ผู้พิการ และผู้ดูแลยืนยันความถูกต้องของการวิเคราะห์
ขั้นดำเนินการ นักศึกษาปี 3 เรียนวิชาวิจัย ดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพตามความต้องการของผู้พิการ โดยมีอาจารย์เป็นพี่เลี้ยง และงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และทุนวิจัยของวิทยาลัยพยาบาล
ขั้นประเมินผล • ประเมินสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล • ประเมินความรู้ใหม่เกี่ยวกับการให้ความหมายของการสร้างเสริมสุขภาพตามการให้ความหมายของผู้พิการ และผู้ดูแล • ประเมินผลลัพธ์ของการให้บริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้พิการ • ประเมินความรู้สำหรับการปฏิบัติการที่สะท้อน “กระบวนการเปลี่ยนแปลงผู้พิการให้มีพฤติกรรมการสร้างเสริม สุขภาพ”
การประเมินผล CBL • ปัจจัยที่ส่งเสริม และเป็นอุปสรรคสำหรับการเรียนรู้ • ประเด็นปัญหา (issue) และนวัตกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน • การเรียนรู้ที่จะสะท้อนการเป็นพยาบาล • ทักษะที่นักศึกษาได้รับ • ทักษะด้านการสร้างสัมพันธภาพ เช่น สัมพันธภาพกับอาจารย์พี่เลี้ยง ประชาชน และผู้รับบริการ