300 likes | 427 Views
การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ ( Information Retrieval : IR ). การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ. Retrieval = Selective Searching = การค้นเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการกลับคืนมา. การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ. การสืบค้นสารสนเทศ (Information Retrieval)
E N D
การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval: IR)
การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ Retrieval = Selective Searching = การค้นเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการกลับคืนมา
การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Retrieval) หมายถึง ความพยายามของบุคคลในการค้นหาเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการ โดยการใช้เครื่องมือในการสืบค้นสารสนเทศ
การค้นคืนและการค้น(หา) การค้นคืนและการค้น(หา) • การค้นคืน (retrieval) เป็น การค้นเพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ มุ่งเน้นที่ผลการค้นเป็นสำคัญ • การค้น การค้นหา (searching) เป็นกระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง • จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่ “เข้าเรื่อง” (relevance) หรือ “ตรงกับความต้องการ” (pertinence)
การค้นคืนสารสนเทศ • ตัวอย่าง • การดูรายการโทรทัศน์ • การฟังรายการวิทยุ • การอ่านหนังสือพิมพ์ • การอ่านหนังสือในห้องสมุด
การเกิดขึ้นของการสืบค้น/ค้นคืนสารสนเทศการเกิดขึ้นของการสืบค้น/ค้นคืนสารสนเทศ • สารสนเทศมีเพิ่มมากขึ้น ทำให้ต้องมีการจัดเก็บสารสนเทศเอาไว้ โดยมีเครื่องมือสำหรับการจัดเก็บ และการค้นคืน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ได้มีการคิดค้นและพัฒนามาตลอด เพื่อให้มีความสะดวก รวดเร็วในการใช้งาน
การค้นคืนสารสนเทศ • การคัดเลือก • การวิเคราะห์เอกสาร • การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล • การค้นค้น • การแจกจ่าย
องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ • ผู้ใช้สารสนเทศ • ผู้จัดระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ • ผู้ใช้สารสนเทศ • ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ • การแปล หรืออธิบายความต้องการ • การสร้างกลวิธีการค้น • การสร้างข้อคำถาม • การประมวลผลของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ 2. ผู้จัดระบบสารสนเทศ • การสร้างฐานข้อมูล • การกำหนดขอบเขตของเรื่อง • ออกแบบระเบียน • เลือกรายการที่จะจัดเก็บ • สร้างเนื้อหา • ปรับปรุงฐานข้อมูล • ควบคุมคุณภาพ
ผู้ใช้ระบบการค้นคืนสารสนเทศผู้ใช้ระบบการค้นคืนสารสนเทศ • นักสารสนเทศ • ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา • ผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์
หลักการของการสืบค้นสารสนเทศหลักการของการสืบค้นสารสนเทศ ข้อคำถาม มักอยู่ในรูปคำศัพท์ และเทคนิค เปรียบเทียบ หรือ จับคู่ ศัพท์ดรรชนี แทนสารสนเทศที่สะสมไว้ ผลการค้นคืน
องค์ประกอบของการสืบค้น/ค้นคืนระบบออนไลน์องค์ประกอบของการสืบค้น/ค้นคืนระบบออนไลน์ 1. ฐานข้อมูล 2. ระบบคอมพิวเตอร์ 3. ระบบโทรคมนาคม 4. ผู้ใช้ 5. ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
กระบวนการค้นคืนสารสนเทศกระบวนการค้นคืนสารสนเทศ • 1. การตั้งคำถาม (Question Asking) ประกอบด้วยการคิดวิเคราะห์ ดังนี้ • การรู้ปัญหา • การรู้สึกต้องการคำตอบ • การตั้งคำถาม
กระบวนการค้นคืนสารสนเทศกระบวนการค้นคืนสารสนเทศ • 2. การหาคำตอบ • การเข้าสู่ระบบการค้นหาด้วยตนเอง • การใช้บริการผู้ให้บริการสารสนเทศ
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ • เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ คือ เครื่องมือที่สามารถสืบค้นสารสนเทศที่มีอยู่ในแหล่งสารสนเทศได้ ซึ่งสารสนเทศนั้นบันทึกในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ 1. ฐานข้อมูล -จัดทำขึ้นเอง -บอกรับเป็นสมาชิก 2. อินเทอร์เน็ต
ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น • Online Database (เป็น/ไม่เป็นสมาชิก) • Off-line Database (เป็น/ไม่เป็นสมาชิก)
OPAC : Online Public Access Catalogues ลักษณะการสืบค้นจาก OPAC -สืบค้นอย่างง่ายโดย ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง เลขเรียกหนังสือ ISBN หัวเรื่อง -สืบค้นขั้นสูง คือ มีการใช้การเชื่อมคำค้น การจำกัดการสืบค้น -การแสดงผล เป็นแบบบรรณานุกรม
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่บอกรับเป็นสมาชิกฐานข้อมูลออนไลน์ที่บอกรับเป็นสมาชิก - ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ให้บริการส่วนใหญ่ เป็นฐานข้อมูลที่บอกรับ ดังนั้นการใช้บริการจะต้องมีการ log in เข้าสู่ระบบ - ลักษณะหน้าจอการสืบค้นจะคล้ายกับ OPAC แต่จะมีลักษณะเฉพาะของแต่ละฐานข้อมูล และในปัจจุบันจะจัดทำผ่านเว็บ
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจ • 1. Journal Link • 2. Ingenta • 3. Institute of Physics • 4. e-polymer • 5. Elsevier Science • 6. Scitation • 7. ISTL • 8. PubMed Central
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจ • 9. Free Medical Journal • 10 ScienceDirect • 11. IEEE/IEE • 12. H.W. Wilson • 13. ProQuest Digital Dissertation • 14. ISI WEB Of Science • 15 LexisNexis • 16. ACM Digital Library
คำถาม • การสืบค้นสารสนเทศมีความสำคัญกับชีวิตประจำวันของนักศึกษาอย่างไร