html5-img
1 / 72

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon). 1. ระบบวิเคราะห์และจัดหมู่ (Cataloging Module)

kale
Download Presentation

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติในประเทศไทยระบบห้องสมุดอัตโนมัติในประเทศไทย

  2. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 1. ระบบวิเคราะห์และจัดหมู่ (Cataloging Module) • รูปแบบที่ควบคุมตามมาตรฐาน US-MARC โดยระบบสามารถตรวจสอบความถูกต้องของการลงข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ รวมทั้งสามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูล กับระบบงานอื่นที่ใช้รูปแบบข้อมูลเป็น MARC ได้โดยผ่าน Z39.50 • workform ในการลงรายการนั้นสามารถกำหนดได้ 2 ประเภทคือ non MARC กับ MARC

  3. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 2. ระบบควบคุมการยืม – คืน (Circulation Module) • ทำการยืม-คืนวัสดุสารสนเทศได้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน • ระบบยังจัดทำรายการทวงหนังสืออัตโนมัติ ผ่าน electronic mail ได้ • ในระบบนี้สามารถทำการจองผ่านระบบ OPAC ได้ในลักษณะออนไลน์

  4. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 3. ระบบควบคุมวารสาร (Serials Control Module) ระบบสามารถควบคุมการลงทะเบียนได้ทั้งวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ วารสารที่จัดซื้อ ได้รับบริจาคหรือแลกเปลี่ยนรวมถึงหนังสือพิมพ์ต่างๆ ตลอดจนการทวง การหมุนเวียนรายชื่อวารสารไปยังสมาชิกผู้ใช้บริการได้

  5. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 4. ระบบควบคุมการจัดซื้อ (Acquisitions Module) ระบบสามารถควบคุมการสั่งซื้อ การทวง การรับเอกสาร การจ่ายเงิน ตลอดจนการทำรายงาน สามารถดูรายงานการใช้งบประมาณในลักษณะแบบ Real Time ได้

  6. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 5. ระบบควบคุมการสำรองหนังสือ (Reserve Book Room Module) ระบบสามารถกำหนดข้อมูลของอาจารย์ผู้สอน และรายวิชาที่สอน สำหรับหนังสือที่ต้องการทำสำรองได้

  7. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 6. ระบบสำรวจทรัพยากรห้องสมุด (Inventory Module) ระบบสามารถสำรวจข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท และมีรายงานสรุปข้อมูลการสำรวจได้แก่ ข้อมูลหนังสือที่วางผิดตำแหน่ง ข้อมูลหนังสือที่สูญหาย สถิติการสำรวจหนังสือ

  8. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • 7. ระบบให้บริการสืบค้นข้อมูล (OPAC or i-PAC) ระบบการสืบค้นออกแบบมา 2 ระบบคือ สำหรับสมาชิกทั่วไป และสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องสมุด • ในการสืบค้นมีระบบ Help screen

  9. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • ข้อดี • ระบบสามารถเก็บข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศได้ในจำนวนมากรองรับจำนวนสื่อที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต • ระบบสามารถทำงานได้บนระบบปฏิบัติการ (O/S) ที่หลากหลาย สามารถเลือก Hardware และระบบปฏิบัติการให้เหมาะสมกับขนาดของห้องสมุดได้ • ระบบมีพัฒนาการอันยาวนาน และเป็นที่ยอมรับของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างกว้างขวาง • สามารถเลือกซื้อเฉพาะระบบงาน (Module) ที่ต้องการได้การคิดราคาตามความจำเป็นของห้องสมุด ขนาดของห้องสมุด และจำนวนทรัพยากรสารสนเทศได้

  10. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • ข้อดี • สามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสืบค้นแบบตรรกบูลีนได้ (Boolean Search) สืบค้นได้โดยไม่ต้องเดินทางมาที่ห้องสมุด • การจัดเก็บข้อมูลอยู่ในรูปมาตรฐานของ Mark format ผู้ใช้สามารถกำหนด tag ได้ตามความต้องการ • การบันทึกข้อมูลบันทึกเพียงครั้งเดียวสามารถนำไปใช้กับระบบงานอื่น ๆ ของห้องสมุดได้และสามารถเชื่อมโยงหรือถ่ายโอนข้อมูลร่วมกันกับห้องสมุดอื่น ๆ ได้ • มีระบบป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลที่ดี

  11. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติฮอริซอน (Horizon) • ข้อเสีย • มีราคาแพงเมื่อเทียบกับขนาดและความจำเป็นของห้องสมุด • การบริการหลังการขายอาจไม่ได้รับความสะดวกเนื่องจากสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ และตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทยในสำนักงานมีจำนวนบุคลากรน้อย อาจทำให้ไม่สามารถให้บริการได้ทันกับความต้องการเมื่อระบบเกิดปัญหา

  12. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 1. Online Public access Catalog (OPAC) 1. สามารถสืบค้นข้อมูลจากฟิลด์ต่างๆในฐานข้อมูลร่วมกันได้ • 2. สามารถกำหนดฟิลด์ที่จะใช้สืบค้นได้ เช่น Title, Authors, Subject, call No, Keyword หรือ Control Number • 3. สามารถใช้เทคนิคการสืบค้นได้หลายวิธี • 4. ข้อมูลที่สืบค้นได้สามารถบอกถึง Item status และ Holding Information ของข้อมูลหนังสือนั้น • 5. โปรแกรมสามารถสืบค้นได้ทั้งบน Interface ของ Dos, window • 6. สามารถสืบค้นและใช้รูปแบบของ Cut & Paste ช่วยได้ • 7. สามารถใช้ Remote Terminal log on เข้ามาสืบค้น โดยผ่านทาง Module Dial up

  13. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) 8. สามารถเริ่มต้นสืบค้นใหม่ โดยเริ่มจากจากจุดใดๆได้ • 9. สามารถสืบค้นข้อมูลได้โดยใช้รูปแบบ Pull down หรือ Command Line • 10. สามารถแสดงผลลัพธ์แบบต่อไป และย้อนกลับได้ 11. สามารถทำงานแบบทวนคำสั่งเดิม Re-Executive of save such สามารถเรียกใช้คำค้นเก่าที่เรียกใช้ และสามารถดัดแปลงแก้ไขได • 12. สามารถ Download หรือ พิมพ์ผลลัพธ์ที่สืบค้นออกมาได้ • 13. สามารถ Link ข้อมูลที่เป็น Multi-Media มาแสดงได้

  14. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 2. Cataloging Module • 1.โปรแกรมมีการออกแบบให้มี Worksheet (Template) มาตรฐาน • 2. ผู้ใช้สามารถดัดแปลง เพิ่มเติมข้อมูลในแต่ละฟิลด์ของ Worksheet(Template) สามารถบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลในรูปแบบของ MARC มาตรฐานได้ เช่น USMARC • 3. สามารถ Load ข้อมูลเดิมจากฐานข้อมูลที่สร้างด้วย CDS-ISIS หรือข้อมูลจาก CD-ROM เช่น Lasercat, Bibliofile • 4. การสร้างข้อมูลสามารถทำผ่าน Worksheet (Template) หรือป้อนข้อมูลเข้าสู่ฐานโดยตรงได้

  15. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 5. ระบบ MARC สามารถรับข้อมูลจากสื่อต่างๆ • 6. สามารถใช้วิธี Cut and paste เพื่อช่วยในการแก้ไขข้อมูลได้ • 7. สามารถสร้าง See, See also เพื่อทำ Cross Reference ได้ • 8. มีระบบ Authority Control สามารถทำโดยอัตโนมัติ • 9. สามารถตรวจสอบความถูกต้องของ Authority ที่สร้างขึ้นใหม่กับ Authority เดิมอยู่แล้วโดยอัตโนมัติ • 10. สามารถ Catalog ข้อมูล และ เก็บข้อมูลในรูป Multi-Media ได้

  16. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 3. Circulation module • คุณสมบัติทั่วไป • 1. สามารถกำหนดเวลาให้ยืมหนังสือแต่ละประเภทได้ • 2. สามารถใช้กับ Bar Code ได้ทั้งส่วนของผู้ใช้บริการ และหนังสือ • 3. สามารถออกใบเตือนหรือทวงได้เมื่อเกินกำหนด

  17. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 3. Circulation module • ระเบียนเกี่ยวกับสมาชิก • 1. สามารถกำหนดสถานะของสมาชิก เพื่อกำหนดวันหมดอายุสมาชิก ต่ออายุ หรือยกเลิกสมาชิก • 2. สามารถกำหนดสมาชิกประเภทต่างๆได้ • 3. สามารถยกเลิกการเป็นสมาชิกได้ • 4. สามารถเก็บประวัติสมาชิกได้ • 5. สามารถใช้กับระบบ Barcode ได้

  18. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 3. Circulation module • ระเบียนเกี่ยวกับชื่อหนังสือ • 1. สามารถกำหนดระยะเวลายืม-คืนได้ตามประเภทของหนังสือ • 2. สามารถคำนวณวันกำหนดส่งได้โดยอัตโนมัติ • 3. สามารถกำหนดสิทธิเพื่อกำหนดจำนวนสิทธิที่ครอบครองได้ • 4. สามารถจองหนังสือได้ • 5. สามารถยืมต่อได้ • 6. สามารถพิมพ์รายงานและสถิติแต่ละเดือนได้

  19. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 4. Serial Control Module • 1. สามารถจัดเก็บข้อมูลที่ต้องการใช้ในการบริการและบริหารงานวารสาร • 2. สามารถควบคุมระบบการบอกรับวารสารในการ Order, Check-in, Check-out, Claiming, Cancel, Return, Receiving • 3. ตรวจสอบสถานะของวารสารแต่ละรายชื่อ ว่าอยู่ในสถานะใด • 4. สามารถจัดระบบควบคุมและคำนวณค่าใช้จ่าย ค่าบอกรับวารสาร ทำบัญชีวารสารในกรณีที่วารสารหาย หรือได้รับไม่สมบูรณ์ • 5. สามารถออกจดหมายทวงในกรณีที่ยังไม่ได้รับวารสาร นอกจากนี้มีโปรแกรม Journal Indexing เสริมการทำงานเพื่อใช้ในการสร้างดัชนีวารสารได้ด้วย

  20. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 5. Acquisition and Fund Accounting Module • 1. สามารถจัดการข้อมูลของรายการการสั่งซื้อ ผู้ขาย ข้อมูลด้านบัญชี ใบส่งของ ใบรับของและรายการ Claim ได้ • 2. สามารถตรวจสอบรายการสั่งซื้อ แก้ไข หรือลบรายการ หรือยับยั้งการสั่งซื้อบางรายการได้ก่อนการสั่งซื้อ • 3. เมื่อออกรายการสั่งซื้อ สามารถอนุมัติก่อนการสั่งซื้อได้ • 4. ผู้อนุมัติสามารถอนุมัติ ลบทิ้ง หรือ รอเฉพาะบางรายการได้ • 5. สามารถยกเลิกรายการสั่งซื้อได้ และปรับปรุงข้อมูลบัญชีโดยอัตโนมัติ • 6. การสั่งซื้อสามารถดึงข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมได้

  21. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติวีทีแอลเอส (VTLS) • 7. สามารถใช้กับรายการสั่งซื้อประเภทสมัครเป็นสมาชิก(subscription) และเตือนการต่ออายุสมาชิก • 8.การรับหนังสือ อาจจะได้รับเฉพาะบางรายการในใบสั่งซื้อ • 9.สามารถพิมพ์ Payment และปรับปรุงข้อมูลบัญชีโดยอัตโนมัติ • 10.สามารถเปลี่ยนหน่วยเงินตราต่างประเทศได้ • 11.สามารถสร้างบานข้อมูลผู้ขาย เพื่อเก็บรายละเอียดของผู้ขายได้ • 12.มีระบบให้ความช่วยเหลือแบบ Online Help • 13. สามารถทำงานแบบ Real-Time ได้ • 14. สามารถดูสถานะของหนังสือที่กำลังซื้อจากOPAC ได้

  22. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 1. Cataloging Module จะใช้รูปแบบการลงรายการของ MARC อย่างสมบูรณ์ คือ ลักษณะพิเศษสามารถบรรจุระเบียนที่มีความยาวมากถึง 100,000 อักขระ แต่ละเขตข้อมูล มีภาษาต่างๆ เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไทย ภาษาอังกฤษ และอื่นๆนอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมต่อแบบออนไลน์กับฐานข้อมูลที่สำคัญ เช่น OLIC,RLIN,ABN และยังสามารถ Download แฟ้มข้อมูลจากฐานข้อมูล CD-ROM ได้ด้วย

  23. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 2. Online Public Access Catalog (OPAC) Module สามารถใช้งานได้ง่ายสืบค้นข้อมูลตามลำดับของตรรกะ เช่น เรียงตามลำดับตัวอักษร และแนะนำหนังสือที่มีลักษณะคล้ายกันที่ผู้ใช้สนใจสามารถดูรายการหนังสือที่อยู่ใกล้เคียงได้ ตลอดจนการจองรายการหนังสือ การส่งข้อมูลผ่านทาง E-mail และสามารถสืบค้นผ่านทาง WWW. สามารถสืบค้นข้อมูลได้พร้อมกันเป็นจำนวนมาก

  24. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 3. Community Information Database Module ใช้สร้างและจัดการฐานข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับหน่วยงานและบริการต่างๆรายวิชาที่เปิดสอนในสถาบัน

  25. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 4. Reference Database Module ใช้สร้างและจัดการเกี่ยวกับดัชนี และสาระสังเขปบทความจากวารสาร หนังสือพิมพ์ อาจจะสร้างขึ้นเอง หรือซื้อจากบริษัทผู้ผลิตต่างๆ เช่น H.W. Wilson และฐานข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ERIC,LAC,APA

  26. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 5. Electronic Gateway to other systems and Database module สามารถเชื่อมกับระบบฐานข้อมูลอื่นๆโดยการใช้โปรโตคอล Z39.50,Gopher,WWW.Telnet

  27. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 6. Acquisition Module ซึ่งไดรับการบูรณาการ (Integrated) เข้ากับโมดูลอื่นๆอย่างสมบูรณ์ เช่น หนังสือ วารสาร โดยวิธีการจัดซื้อ ขอบริจาค แลกเปลี่ยน และยังสามารถควบคุมบัญชีการเงิน และอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ การติดตามการจัดซื้อจากผู้ขาย การได้รับใบส่งของ ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์กับผู้จัดจำหน่าย เช่น EBSCO,FAXON

  28. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 7. Serial Control Module งานส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับงานวารสารต่างๆเช่น การบอกรับวารสาร การต่ออายุวารสาร การตรวจสอบวารสารเย็บเล่ม ล่วงเวลา การทวงถาม ระบบการสั่งซื้อบอกรับวารสารอาจจะสามารถติดต่อโดยตรงกับบริษัทตัวแทนจำหน่าย เช่น EBSCO,FAXON ในรูปทางอิเลคทรอนิกส์ รายการเกี่ยวกับงบประมาณการต่ออายุสมาชิกวารสาร โดยการสร้างระเบียนข้อมูลวารสารได้ด้วย

  29. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 8. Circulation Module เกี่ยวกับการยืม คืนการจอง การยืมต่อของสารสนเทศต่างๆ การ • ปรับ การออกใบเสร็จรับเงิน การเก็บทะเบียนผู้ใช้ไว้ การทวงถามรายการค้างส่งทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ การตรวจสอบรายละเอียดของค่าปรับที่ค้างชำระ

  30. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 9. Material Booking Module ใช้กับรายการการจองรายการต่างๆเช่น หนังสือ วารสาร • วีดีโอเทป ฟิล์มภาพยนตร์ เครื่องฉาย ห้องเรียนสำหรับใช้ตามเวลาที่ต้องการ โมดูลนี้ยังสามารถใช้จัดทำตารางกิจกรรม และอุปกรณ์ต่างๆด้วยตนเอง

  31. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอินโนแพค (INNOPAC) • 10. Inter Library loan Module บริการยืมระหว่างห้องสมุดทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ • ถ้าหากติดตั้ง Software INNOPAC Z39.50 ระบบจะตรวจสอบคำขอเกี่ยวกับการยืม ตลอดจนแสดงให้ผู้ใช้ทราบว่าได้ดำเนินเข้าสู่ระบบแล้ว หากห้องสมุดผนวกฐานข้อมูลวารสารเข้าไปในระบบ INNOPAC ด้วย ผู้ใช้สามารถป้อนคำถามเกี่ยวกับการยืมวารสารระหว่างห้องสมุดได้โดยเพียงแต่เลือกรายการอ้างอิงที่ต้องการจากฐานข้อมูลของวารสาร

  32. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอลิชฟอร์วินโดว์ (Alice for Window) • พัฒนาขึ้นจากวิสัยทัศน์ ที่ทำให้ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ได้ใช้เวลาไปกับการทำงานตามวิชาชีพมากกว่าจะใช้เวลาไปกับงานดูแลระบบคอมพิวเตอร์ • การใช้งานง่าย ทำให้ใช้เวลาในการเรียนรู้น้อยส่งผลให้สามารถนำไปใช้งานได้โดยเร็ว มีประสิทธิภาพ • ระบบพัฒนาขึ้นแบบบูรณาการ (System Integration)

  33. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอลิชฟอร์วินโดว์ (Alice for Window) • สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลทรัพยากรระหว่างสถาบันต่าง ๆ ได้ทั่วโลก • รองรับมาตรฐาน Z39.50 Protocol ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก • สามารถกำหนดอัตราค่าปรับ คำนวณค่าปรับ แสดงผลค่าปรับ และจำนวนวันที่ยืมเกินกำหนดให้โดยอัตโนมัติ • ระบบสามารถตรวจสอบการยืมคืนให้โดยอัตโนมัติ โดยจะมีข้อความเตือนเมื่อสมาชิกที่ยืมเกิดปัญหาขึ้น ได้แก่ ค้างค่าปรับ หมดอายุการเป็นสมาชิก ยืมทรัพยากรเกินกว่าที่อนุญาต และค้างส่งคืนหนังสือ เป็นต้น • มีแผนที่แสดงตำแหน่งและสถานะของทรัพยากรที่สืบค้นได้ ทำให้ผู้ใช้บริการทราบทันทีว่า ทรัพยากรนี้จัดเก็บไว้ที่ตู้ไหน มุมไหนของห้องสมุดและมีอยู่เพื่อให้บริการได้หรือถูกยืมไป

  34. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอลิชฟอร์วินโดว์ (Alice for Window) • มีระบบ Authority Control ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ห้องสมุด • มีระบบ Stock Take ที่ช่วยเจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบทรัพยากรได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องที่สุด • มีระบบ Multilingual ทำให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถเลือกใช้ภาษาที่ต่างกันสำหรับให้บริการแก่สมาชิกที่หลากหลาย • มีระบบการสำรองข้อมูลให้อัตโนมัติ ทำให้มั่นใจได้ว่าข้อมูลได้มีการสำรอง และจัดเก็บไว้อย่างปลอดภัย • มีระบบการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต(Internet Inquiry) ทำให้สามารถขยายการให้บริการได้อย่างกว้างขวาง

  35. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอลิชฟอร์วินโดว์ (Alice for Window) • สามารถจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศแบบหลากสื่อ(Multi-Media) • โปรแกรมมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันกับความก้าวหน้าขององค์ความรู้ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว • โปรแกรมพัฒนาขึ้นตามสถาปัตยกรรมแบบ Client/Server • ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบน้อย เมื่อเทียบกับโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติอื่น ๆ

  36. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติอลิชฟอร์วินโดว์ (Alice for Window) • 1. ระบบการจัดการข้อมูล (Management Module) • 2. ระบบการสืบค้นข้อมูลโอแพ็ค (OPAC Module) • 3. ระบบยืม-คืน (Circulation Module) • 4. ระบบวารสาร (Periodicals Module) • 5. ระบบการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisitions Module) • 6. ระบบดรรชนีวารสาร (Journal Indexing Module) • 7. ระบบสื่อผสม (Multimedia Module) • 8. ระบบการสืบค้นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต (Inquiry Module) • 9. ระบบบริหาร (System Module)

  37. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแอลสไปร์เดอร์ (Lspider) • ระบบงานด้านงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ • ระบบบัตรรายการ สำหรับพิมพ์บัตรรายการในกรณีที่ห้องสมุดต้องการพิมพ์บัตรรายการก็สามารถดึงข้อมูลจากงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศมาใช้ได้ • ระบบพิมพ์บาร์โค้ด สำหรับงานพิมพ์บาร์โค้ดของทรัพยากรสารสนเทศ ระบบข้อมูลสมาชิก เป็นส่วนที่จัดเก็บข้อมูลสมาชิกของห้องสมุดซึ่งจะมีรายละเอียดของสมาชิกแต่ละคนที่สมัครเข้ามาเก็บไว้ในฐานข้อมูลของสมาชิก • ระบบพิมพ์บัตรสมาชิก สำหรับจัดพิมพ์บัตรสมาชิกของห้องสมุด ในระบบนี้สามารถพิมพ์บัตรสมาชิกพร้อมรูปของสมาชิกได้ด้วย • ระบบสืบค้นข้อมูลออนไลน์ หรือ OPAC

  38. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแอลสไปร์เดอร์ (Lspider) • ระบบจองสื่อออนไลน์ สมาชิกห้องสมุดสามารถทำรายการจองสื่อได้ผ่านระบบออนไลน์ • ระบบการให้บริการยืม-คืนสื่อ • ระบบส่งข้อความ สามารถส่งข้อความต่างๆ จากห้องสมุดไปยังสมาชิก และนอกจากนี้สมาชิกก็สามารถส่งข้อความมาหาเจ้าหน้าที่ห้องสมุดได้ • ระบบสร้างคำค้น หรือการจัดทำดรรชนี ใช้สำหรับการตัดคำเพื่อสร้างคำดรรชนีในระบบ ให้สามารถทำการสืบค้นได้ • ระบบควบคุมวารสาร สำหรับใช้ในงานวารสาร โดยช่วยจัดการงานต่างๆ ของระบบงานวารสาร • ระบบการออกรายงานต่างๆ

  39. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • 1. ระบบการวิเคราะห์หมวดหมู่และทำรายการ (Cataloging) • ลงรายการแบบ MARC • สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลบรรณานุกรมของห้องสมุดกับห้องสมุดอื่นๆ • ระบบควบคุมแฟ้มข้อมูลหลักฐาน (Authority Control File)

  40. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • 2. ระบบสืบค้นข้อมูลออนไลน์ (OPAC : Online Public Access Catalog) • ระบบสืบค้นข้อมูลของบรรณารักษ์ (OPAC Client) และระบบ สืบค้นข้อมูลของสมาชิก (Web OPAC) • การสืบค้นแบบตรงตัว (Exact Match Search) • การสืบค้นคำ หรือ วลี (Word Search) • การสืบค้นแบบสร้างเงื่อนไข (Boolean Search) • การสืบค้นแบบตัดคำ (Truncation Search)

  41. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • การสืบค้นแบบฐานข้อมูลเต็มรูป(Full Text Search) • การแสดงผลการสืบค้นแบบ Graphic • การแสดงผลการสืบค้นแบบย่อ (Summary Display) • การแสดงผลการสืบค้นแบบบรรณานุกรม(Bibliographic Display) • การแสดงผลการสืบค้นแบบเต็มรูป (MARC Display)

  42. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • 3. ระบบบริการยืม - คืน (Circulation) • ระบบจัดการข้อมูลสมาชิก (Patron Management) • กำหนดปฏิทินการคำนวณวันคิดค่าปรับล่วงหน้า • การกำหนดสิทธิ์การยืม • การกำหนดสิทธิ์การจอง • กำหนดสิทธิ์การยืมต่อ (Renewal) • การจอง (Reservation and Booking) • Advance Booking • Booking • Reservation

  43. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • ระบบยืม - คืนชั่วคราว ( Off line Circulation) • การรับ–ส่งข้อความจากสมาชิก เป็นโปรแกรมรับ-ส่งข้อความทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเจ้าหน้าที่ห้องสมุดกับสมาชิก โดยผ่าน WEB OPAC • รายงาน

  44. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • 4. การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition) • ระบบการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ • ข้อมูลผู้จำหน่ายทรัพยากรสารสนเทศ • การเก็บข้อมูลผู้จำหน่ายสามารถเก็บได้มีดังต่อไปนี้ • รหัสร้านค้า ชื่อร้านค้า • รหัสลูกค้า ประเภทของร้านค้า • ที่อยู่ ชื่อผู้ที่ติดต่อ • วิธีการจัดส่ง

  45. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • 5. ระบบควบคุมสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials Control) สำหรับใช้ในงานควบคุมวารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีในห้องสมุด สามารถจัดการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องได้อย่างครบวงจร

  46. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • ข้อดี • สามารถใช้งานได้ครบทุกระบบงาน (Module) ของห้องสมุด • โปรแกรมพัฒนาเพื่อให้สามารถรองรับเทคโนโลยี (Hardware) และระบบปฏิบัติการ (O/S) ที่หลากหลาย • สามารถเลือกซื้อเฉพาะระบบงาน (Module) ที่จำเป็นก่อนได้ • โปรแกรมมีความยืดหยุ่นในการทำงานสามารถปรับให้เข้ากับสภาพการทำงานของห้องสมุดได้ • รองรับจำนวนทรัพยากรที่มีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ของห้องสมุดได้อย่างไม่จำกัด และรองรับสื่อหลายประเภท

  47. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • ข้อดี • ทำงานด้วยระบบมาตรฐานของ MARC Format เปิดโอกาสให้ผู้ใช้กำหนด tag ที่ต้องการเพิ่มเติมได้ • ลงรายการข้อมูลเพียงครั้งเดียว สามารถนำไปใช้กับงานต่าง ๆ ของห้องสมุดได้ และพิมพ์บัตรรายการได้ • สามารถสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตสืบค้นแบบตรรกบูลีนได้ (Boolean Search) • เป็นซอฟต์แวร์คนไทยที่พัฒนาได้ไวและต่อเนื่อง มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ง่ายต่อการใช้งานของห้องสมุด • ราคาถูก เมื่อเทียบกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติอื่น ๆ ที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาใช้ซึ่งเป็นของต่างประเทศมีราคาแพงกว่ากันมากแต่ได้มาตรฐานเดียวกันกับที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาใช้

  48. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเมจิกไลบรารี่ (Magic Library) • ข้อเสีย • ยังไม่ใช้เป็นที่กว้างขวางมากนักในห้องสมุดระดับอุดมศึกษา ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ในห้องสมุดระดับกลางห้องสมุดเฉพาะ และห้องสมุดโรงเรียน • ความน่าเชื่อถือของผู้จำหน่าย บริษัททำธุรกิจด้านห้องสมุด มาเป็นเวลาไม่นาน ด้านชื่อเสียง ระบบยังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล มีใช้เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น • การคิดราคาไม่คิดตามขนาดของห้องสมุด และจำนวนทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด แต่จะคิดตามระบบงาน (Module) ที่ใช้งาน

  49. ระบบห้องสมุดอัตโนมัตินวสาร 2000 • 1. ระบบงานการบริหารและการจัดการ (Administration and Management Module) ประกอบด้วย การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การบันทึกข้อมูล ได้แก่ สมาชิก งบประมาณ สิทธิ์การใช้งาน อายุการเป็นสมาชิก วันหยุด ประกาศ การปรับปรุง ได้แก่ สมาชิก งบประมาณ อายุการเป็นสมาชิก วันหยุด รหัสผ่าน ประกาศ สิทธิ์การใช้งาน การรายงาน ได้แก่ งบประมาณ สมาชิก สิทธิ์การใช้งาน การพิมพ์งาน ได้แก่ บัตรสมาชิกห้องสมุด บัตรบุคลากร บัตรพิเศษ ประกาศ

  50. ระบบห้องสมุดอัตโนมัตินวสาร 2000 • 2. ระบบงานการทำทะเบียนสื่อต่างๆ (Acquisition & Cataloging Module) ประกอบด้วย การบันทึกข้อมูลทั่วไป ได้แก่ สื่อห้องสมุด เอกสาร การปรับปรุง การรายงาน ได้แก่ รายงานทั่วไป งบประมาณ รับ-จ่าย การพิมพ์งาน ได้แก่ การพิมพ์บาร์โค้ดและสันหนังสือ บรรณานุกรม บัตรรายการ ใบสั่งซื้อ ใบทวงสินค้า ใบสมัครสมาชิก

More Related