150 likes | 449 Views
การขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ นโยบาย ลู่ทาง และโอกาส 22 พฤษภาคม 2552. นงลักษณ์ วงศ์สุขสิริเดชา ผู้อำนวยการกลุ่มการขนส่งระหว่างประเทศ กรมการขนส่งทางบก. หัวข้อในการบรรยาย. ยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม บทบาทด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน บทบาทด้านการจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ
E N D
การขนส่งทางถนนระหว่างประเทศนโยบาย ลู่ทาง และโอกาส22 พฤษภาคม 2552 นงลักษณ์ วงศ์สุขสิริเดชา ผู้อำนวยการกลุ่มการขนส่งระหว่างประเทศ กรมการขนส่งทางบก
หัวข้อในการบรรยาย • ยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม • บทบาทด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • บทบาทด้านการจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ • การเตรียมความพร้อมของภาครัฐและเอกชน
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคมยุทธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคม • การใช้ประโยชน์จากภาคคมนาคมเพื่อเป็นเครื่องมือผลักดันในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และนำไปสู่ความเป็นศูนย์กลางการขนส่งของภูมิภาค รวมทั้งรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์รายพื้นที่ • การให้ความสำคัญต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบการขนส่งที่มีมาตรฐาน สะดวก ปลอดภัย และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ • การรักษาปริมาณและมาตรฐานคุณภาพของบริการพื้นฐานในการขนส่งและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อเพิ่มปริมาณการใช้การขนส่งสาธารณะอย่างปลอดภัยและพอเพียง • การให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบการขนส่งที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และรักษาสิ่งแวดล้อม • การให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการภาครัฐ และการบริการ ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
บทบาทด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบทบาทด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การเชื่อมต่อโครงสร้างพื้นฐานกับประเทศเพื่อนบ้าน • การก่อสร้าง/ปรับปรุงถนน สะพานในประเทศเพื่อรองรับ • การให้ความช่วยเหลือในการก่อสร้าง/ปรับปรุงถนน สะพานในประเทศเพื่อนบ้าน
การเชื่อมต่อโครงสร้างพื้นฐานกับประเทศเพื่อนบ้านการเชื่อมต่อโครงสร้างพื้นฐานกับประเทศเพื่อนบ้าน • ทางหลวงเอเชีย • ทางหลวงอาเซียน • แนวเขตเศรษฐกิจ GMS • ความร่วมมือเหลี่ยมต่าง ๆ
เส้นทางเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตกเส้นทางเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก เส้นทาง : เมาะละแหม่ง-เมียวดี (พม่า)-แม่สอด-พิษณุโลก-ขอนแก่น-กาฬสินธุ์-มุกดาหาร - สะหวันนะเขต-แดนสะหวัน (สปป. ลาว) - ลาวบาว-ดองฮา-เว้-ดานัง (เวียดนาม)
เส้นทางเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้เส้นทางเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้ • เส้นทาง : คุนหมิง-ยูซี-หยวนเจียง-โมเฮย-ซิเมา-เฉียวเมิงหยาง-โมฮาน (สป. จีน)-บ่อเต็น-ห้วยทราย (สปป.ลาว)-เชียงของ-เชียงราย-ตาก-กรุงเทพฯ • เส้นทาง : เชียงตุง-ท่าขี้เหล็ก (พม่า)-แม่สาย-เชียงราย-ตาก-กรุงเทพฯ • เส้นทาง : คุนหมิง-หมี่เหลอ-หยินช่อ-ไคหยวน-เม่งซือ-เฮียโค่ว (สป. จีน)-ลาวไค-ฮานอย-ไฮฟอง (เวียดนาม)
เส้นทางเศรษฐกิจแนวใต้เส้นทางเศรษฐกิจแนวใต้ • เส้นทาง : กรุงเทพฯ-กบินทร์บุรี-สระแก้ว-อรัญประเทศ หรือ กรุงเทพฯ-แหลมฉบัง-พนมสารคาม-กบินทร์บุรี-สระแก้ว-อรัญประเทศ-ปอยเปต-ศรีโสภณ-เปอสาต-พนมเปญ-นากหลวง-บาเวต (กัมพูชา)-มอคไบ-กรุงโฮจิมินห์-วังเตา (เวียดนาม) • เส้นทาง : กรุงเทพฯ-ตราด-หาดเล็ก-แชมแยม-เกาะกง-สะแรอัมเปิล-กำพต-ลอก (กัมพูชา)-ฮาเตียน-คาเมา-นามคาน (เวียดนาม)
เส้นทางการขนส่งระหว่างประเทศอื่น ๆ • เส้นทาง: คุนหมิง-ฉูฉง-ต้าลี่-เป่าซาน-หลุ่ยลี่ (จีน)-มูแซ-ลาซิโอ (พม่า) • เส้นทาง : เวียงจันทน์-บ้านลาว-ท่าแขก-เซโน-ปากเซ (สปป.ลาว)-ชายแดนลาวและกัมพูชา-สะตรึงเตร็ง-กระตี-พนมเปญ-สีหนุวิลล์ (กัมพูชา) • เส้นทาง : นาเตย-อุดมไชย-ปักมอง-หลวงพระบาง-เวียงจันทน์- ท่านาแล้ง (สปป.ลาว)-หนองคาย-อุดรธานี-ขอนแก่น-กรุงเทพฯ • เส้นทาง : เวียงจันทน์-บ่อลิคัมไซ (สปป. ลาว)-ฮาติน (เวียดนาม) • เส้นทาง : จำปาสัก (สปป. ลาว)-อุบลราชธานี