360 likes | 557 Views
LGBT. Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender การจัดระเบียบทางเพศโดยกฎหมาย. รู้สึกอย่างไรกับปรากฏการณ์ในลักษณะดังกล่าวนี้. ทรรศนะแบบทวิเพศ เพศของมนุษย์เป็นไปตามเพศกำเนิด การจำแนกเพศมีเพียงแค่เพศหญิงและชาย บทบาทของหญิงชายก็จะดำเนินไปตามกรอบของเพศกำเนิด
E N D
LGBT Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender การจัดระเบียบทางเพศโดยกฎหมาย
รู้สึกอย่างไรกับปรากฏการณ์ในลักษณะดังกล่าวนี้รู้สึกอย่างไรกับปรากฏการณ์ในลักษณะดังกล่าวนี้
ทรรศนะแบบทวิเพศ • เพศของมนุษย์เป็นไปตามเพศกำเนิด การจำแนกเพศมีเพียงแค่เพศหญิงและชาย • บทบาทของหญิงชายก็จะดำเนินไปตามกรอบของเพศกำเนิด • กฎหมายมีข้อกำหนดการใช้คำนำหน้านาม การแต่งกาย • สถานที่ในทางสาธารณะต่างๆ ก็จะมีการออกแบบไว้รองรับสำหรับเพศชายและหญิงเท่านั้น
เพศวิถี หรือการปฏิบัติอันสืบจากความต้องการทางเพศก็ต้องอยู่ในกรอบของรักต่างเพศ ระหว่างชายกับหญิง • การแต่งงาน/การก่อตั้งครอบครัวของบุคคล ก็ถูกกำหนดให้เป็นเรื่องของชายกับหญิงเท่านั้น (heterosexual marriage) • การกระทำที่อยู่นอกกรอบเป็นความผิดปกติ ไม่สามารถอนุญาตให้กระทำได้
กฎหมายมีบทบาทอย่างสำคัญต่อการ “สร้าง” เพศ และสถาบันทางสังคมต่างๆ ที่เกี่ยวกับเพศ แม้ว่าอาจที่คนในสังคมโดยไม่ตระหนักรู้ • เพราะคิดว่าเป็นธรรมชาติ
Fri 2 Aug 12.00 – 15.00 • 176100 • Mon/Thu • SB 4105 • SB 4106 • SB 4201 • SB4202 • 176100 • Tue/Fri • SB 4203 • SB 4208 • SB 4209 • SB 4210
การท้าทายจากทรรศนะแบบพหุเพศการท้าทายจากทรรศนะแบบพหุเพศ • เพศของมนุษย์มีความซับซ้อน อารมณ์และพฤติกรรมทางเพศไม่ได้ถูกกำหนดจากเพศกำเนิดแต่เพียงอย่างเดียว หากเป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้าง (constructed) ขึ้น • เพศของมนุษย์สามารถลื่นไหล เปลี่ยนแปลงได้ ไม่จำกัดเฉพาะเพศกำเนิดเท่านั้น
การจำแนกโรคสากล (International Classification of Diseases) ครั้งที่ 9 ขององค์การอนามัยโรค ค.ศ. 1978 เห็นว่าบุคคลที่มีความสนใจในทางเพศกับบุคคลที่มีเพศเดียวกันกับตนเป็นบุคคลที่มีกามวิปริต • การจำแนกโรคสากล (International Classification of Diseases) ครั้งที่ 10 ค.ศ. 1992 องค์การอนามัยโลกได้ถอนรายชื่อของการรักเพศเดียวกันออกจากการเป็นโรคทางจิต (mental disease) ชนิดหนึ่ง
หากไม่จำกัดเพียงเงื่อนไขด้านเพศกำเนิด จะจำแนกเพศมนุษย์ได้อย่างไรบ้าง • ด้วยปัจจัยอะไร
ระบบกฎหมายบนฐานคิดแบบทวิเพศ • พื้นที่สาธารณะที่ยังจำแนกเพศชายหญิง ก่อให้ก่อความยุ่งยากอย่างสำคัญ • รวมถึงสถาบันครอบครัวที่อยู่บนฐานการแต่งงานแบบต่างเพศเป็นหลัก
การท้าทายต่อระบบครอบครัวแบบดั้งเดิมการท้าทายต่อระบบครอบครัวแบบดั้งเดิม
ชายรักชาย หญิงรักหญิง คู่รักเพศเดียวกัน มิใช่สิ่งที่ผิดปกติแต่อย่างใด หากเป็นรสนิยมแบบหนึ่ง
ระบบการสมรสแบบต่างเพศ >>> ชาย หญิง >>> ระบบครอบครัวแบบพ่อ แม่ ลูก • ระบบการสมรสของคู่รักเพศเดียวกัน >>> ชาย ชาย/หญิง หญิง >>> ระบบครอบครัวแบบใหม่
14 กุมภาพันธ์ 2555 • “บรรยากาศการจดทะเบียนสมรสในเขตบางรักคึกคักมีคู่รักมาเข้าแถวจดทะเบียนสมรสกันอย่างต่อเนื่อง โดยคู่รักที่มาจดทะเบียนสมรสมีหลายรูปแบบ อาทิ คู่รักสูงอายุที่รักกันมายาวนาน คู่รักวัยรุ่น คู่รักที่จูงลูกน้อยมาร่วมเป็นพยานรัก นอกจากนี้ยังพบคู่รักเพศที่สามมาจดทะเบียนสมรส โดยฝ่ายหญิงที่มีใจเป็นผู้ชาย คือ น.ส. บ อายุ 24 ปี ได้สมรสกับฝ่ายชายที่มีใจเป็นหญิง นาย ส อายุ 22 ปี โดยนาย ส กล่าวว่า ตนและแฟนได้รู้จักกันผ่านโลกออนไลน์ และได้คบหาดูใจกันร่วม 4 ปี ด้วยนิสัยที่เข้ากันได้ ต่างฝ่ายต่างตามใจ รู้ใจ จึงตกลงใจมาจดทะเบียนสมรสกัน ส่วนเรื่องเพศก็ไม่เป็นอุปสรรคกับความรัก อยู่ที่ใจของทั้งคู่มากกว่าและพ่อแม่ก็ไม่ขัดข้อง
มีความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 2 ด้าน • การเปลี่ยนเพศในทางกฎหมาย • ยอมรับให้บุคคลสามารถเปลี่ยนเพศในทางกฎหมายที่ไม่ตรงกับเพศกำเนิด • เงื่อนไขบางประการ บรรลุนิติภาวะ มีการใช้ชีวิตในอีกเพศหนึ่ง ได้รับการรับรองโดยผู้เชี่ยวชาญ • มีสถานะตามเพศใหม่
การยอมรับการใช้ชีวิตร่วมของคู่รักเพศเดียวกันการยอมรับการใช้ชีวิตร่วมของคู่รักเพศเดียวกัน • แต่อาจมีความแตกต่างกันไป 3 ระดับ • ระดับที่หนึ่ง ยอมรับการจัดการทรัพย์สินร่วมกัน • ระดับที่สอง ยอมรับเสมือนการจดทะเบียนระหว่างชายหญิง แต่มีข้อจำกัดบางประการ • ระดับที่สาม ยอมรับในแบบเดียวกันกับการสมรสของชายหญิง
แต่ความเปลี่ยนแปลงนี้มีความยุ่งยากในสังคมไทยไม่น้อยในหลากหลายมิติแต่ความเปลี่ยนแปลงนี้มีความยุ่งยากในสังคมไทยไม่น้อยในหลากหลายมิติ
ประเด็นที่เป็นข้อถกเถียงสำคัญประเด็นที่เป็นข้อถกเถียงสำคัญ • ยังไม่สามารถยอมรับความเปลี่ยนแปลงนี้ได้แม้เรื่องเพศที่เปลี่ยนแปลงของบุคคล • การรับบุตรบุญธรรม หรือการตั้งครรภ์ด้วยการใช้เทคโนโลยี • กระทบไปถึงประเด็นอื่นๆ ที่สัมพันธ์กัน เช่น การประกอบอาชีพ
Enjoy your identity and sexuality • ขอให้มีความสุขกับอัตลักษณ์และเพศวิถีของตนเองในโลกสมัยใหม่