1 / 104

การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 254 9

การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 254 9. หัวข้อบรรยาย :. พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546. หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต. วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต. ตารางรายงานการคำนวณ ต้นทุผลผลิต. ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47. ความเป็นมา. ความเป็นมา. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย

Download Presentation

การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 254 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณต้นทุนผลผลิต ปีงบประมาณ 2549

  2. หัวข้อบรรยาย: พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต ตารางรายงานการคำนวณ ต้นทุผลผลิต ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47

  3. ความเป็นมา

  4. ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4

  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  6. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  7. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  8. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต

  9. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนงานของแต่ละส่วนงาน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับ ในการวัดผลการดำเนินงาน และปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

  10. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิด โครงสร้างแบ่งส่วนราชการของกรมฯ เป็นสำนัก กลุ่ม กอง ศูนย์ ตามภาระกิจที่สอดคล้องกับพันธกิจ ตามกฎกระทรวง แต่ละสำนัก กอง ศูนย์ มีกิจกรรม เฉพาะเพื่อสร้างผลผลิตที่แต่ละแห่งรับผิดชอบ

  11. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ประโยชน์ 1. ตรวจสอบต้นทุนทรัพยากรที่ใช้ในงานที่รับผิดชอบ 2. วัดผลการดำเนินงาน 3. ปรับปรุงกระบวนการทำงาน 4. วางแผนการทำงาน 5. วัดความคุ้มค่าของงาน

  12. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ความหมายและคำจำกัดความ

  13. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร

  14. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ

  15. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางตรง Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด

  16. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว

  17. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ

  18. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

  19. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Outputหมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน

  20. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต งานบริการสาธารณะ Public Serviceหมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง

  21. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต

  22. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน

  23. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน

  24. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 1 ระบุผลผลิตของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 ระบุสำนัก กอง ศูนย์ (Cost Center)

  25. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 4 ระบุต้นทุนรวมของทุก Cost Center ขั้นตอนที่ 5 กระจายต้นทุนหน่วยสนับสนุนเข้าหลัก ขั้นตอนที่ 6 รวมต้นทุนเชื่อมโยงสู่กิจกรรม/ผลผลิต

  26. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 หลัก 17 + 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 หลัก 15 + 5 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  27. วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตวิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิต • เตรียมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ • ผลผลิต • กิจกรรม • ศูนย์ต้นทุน • เกณฑ์การปันส่วน • แยกประเภทค่าใช้จ่ายที่เป็น • ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน • ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • ค่าใช้จ่ายที่บันทึกผิดศูนย์ต้นทุน • ดึงข้อมูลต้นทุนที่แยกเข้าตามศูนย์ต้นทุนแล้วจากระบบ GFMIS มาคำนวณใน Excel • ดำเนินการคำนวณต้นทุน

  28. ข้อมูลพื้นฐาน ระบุ ผลผลิต กิจกรรมหลัก และความเชื่อมโยง หมายเหตุ ตามเอกสารงบประมาณ รายชื่อกิจกรรมจะมีอยู่แล้วในระบบ GFMIS

  29. ข้อมูลพื้นฐาน กำหนดหน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน หมายเหตุ รายชื่อศูนย์ต้นทุนจะมีอยู่แล้วในระบบ GFMIS

  30. การเรียกดูข้อมูลในระบบ GFMIS(หลังจากการปิดงวดครั้งสุดท้าย) • เลือก Transaction code : KSB1 กด Enter • เลือกจากเมนู

  31. การกรอกข้อมูลเพื่อดูรายงานการกรอกข้อมูลเพื่อดูรายงาน

  32. ผลลัพธ์

  33. การส่งข้อมูลออกไป Excel

  34. ผลลัพธ์ใน Excel

  35. การปันส่วนต้นทุน ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม 4 หลัก 12 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 หลัก 17 + 3 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 หลัก 15 + 5 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 2 1 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  36. สรุปเกณฑ์ในการปันส่วนตามขั้นตอน 4 ขั้นตอน

  37. เกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางเกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลาง

  38. เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานสนับสนุนเข้าสู่หน่วยงานหลักเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานสนับสนุนเข้าสู่หน่วยงานหลัก หมายเหตุ หน่วยงานสามารถใช้เกณฑ์เดิม หรือ ใช้วิธีหารเท่า ให้กับทุกหน่วยงานหลักเท่าๆ กัน

  39. เกณฑ์การปันส่วนหน่วยงานหลักไปกิจกรรมเกณฑ์การปันส่วนหน่วยงานหลักไปกิจกรรม • ใช้เกณฑ์เดิม หรือ • ใช้สัดส่วนการใช้จ่ายเงินในงบประมาณของหน่วยงานหลักต่อกิจกรรม • ใช้คอลัมน์ ศูนย์ต้นทุน ส่วนประกอบต้นทุน กิจกรรม จำนวนเงิน • ตัดศูนย์ต้นทุนสนับสนุน และส่วนประกอบต้นทุนที่เป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางออก • หาสัดส่วนที่ศูนย์ต้นทุนหลักต่อกิจกรรม • ต.ย หน่วยงานหลักมีการใช้เงินงบประมาณ 935 ล้านบาท ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 651 ล้านบาท เท่ากับ 70 % กิจกรรมที่ 2 37 ล้านบาท เท่ากับ 4 % กิจกรรมที่ 3 89 ล้านบาท เท่ากับ 9 % กิจกรรมที่ 4 158 ล้านบาท เท่ากับ 17 %

  40. เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานหลักเข้าสู่กิจกรรมเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนหน่วยงานหลักเข้าสู่กิจกรรม หมายเหตุ หน่วยงานสามารถใช้เกณฑ์เดิม หรือ จากสัดส่วนค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณที่หน่วยงานใช้ไปในแต่ละกิจกรรม

  41. เกณฑ์การปันส่วนกิจกรรมไปผลผลิตเกณฑ์การปันส่วนกิจกรรมไปผลผลิต • ใช้เกณฑ์เดิม หรือ • ใช้สัดส่วนงบประมาณ ตามเอกสารงบประมาณ • ต.ย ผลผลิตที่หนึ่ง 688 ล้านบาท ประกอบด้วย 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 651 ล้านบาท กิจกรรมที่ 2 37 ล้านบาท

  42. เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ผลผลิตเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ผลผลิต หมายเหตุ ใช้หลักเกณฑ์เดิม หรือจากสัดส่วนงบประมาณ ตามเอกสารงบประมาณ

  43. แยกประเภทค่าใช้จ่าย • แยกค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุนของหน่วยงานออกมา • ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ • ค่าบำเหน็จบำนาญ 5101030103, 5101030106, 5101030204, 5101030209-10, 5101030213-14, 5101030302, 5101030302, 5101040101 – 5101040207 • T/E ระหว่างหน่วยงาน 5210000000-5210010199 • พักหักล้างการโอนสินทรัพย์ 5212010103 • ปรับหมวดรายจ่าย 5301010101 • พักค่าใช้จ่าย-บัตรเครดิต 5301010102

  44. แยกประเภทค่าใช้จ่าย • กำหนดค่าใช้จ่ายส่วนกลาง หรือโดยทั่วไปได้แก่ • ค่าสาธารณูปโภค 5104020000 – 5104020199 • หนี้สูญและสงสัยจะสูญ 5108000000 –5108010112 • ค่าตรวจสอบบัญชี 5110010101 –5110010102 • ค่าใช้จ่ายที่ยังไม่ระบุศูนย์ต้นทุนที่ถูกต้อง เช่น เงินเดือนจ่ายตรง ค่าเสื่อมราคา ค่าวัสดุใช้ไป

  45. ระบุค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน และค่าใช้จ่ายส่วนกลาง

  46. การดำเนินการคำนวณต้นทุนการดำเนินการคำนวณต้นทุน • เลือกเฉพาะคอลัมน์ • ศูนย์ต้นทุน • ส่วนประกอบต้นทุน (รหัสบัญชี) • จำนวนเงิน • ลบคอลัมน์ที่ไม่เกี่ยวข้อง

  47. ปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • เรียงข้อมูลตามส่วนประกอบต้นทุน • ตัดรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่ต้นทุน เพื่อใช้ในการหมายเหตุกระทบยอดไปยังยอดรวมค่าใช้จ่ายในงบรายได้และค่าใช้จ่าย • ตัดรายการที่เป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลางไปสมุดงานใหม่ • รวมจำนวนเงินสำหรับค่าใช้จ่ายส่วนกลาง • ปันส่วนจำนวนเงินของกค่าใช้จ่ายส่วนกลางตามเกณฑ์ที่ตกลง ศูนย์ต้นทุนหลัก ค่าใช้ส่วนกลาง ศูนย์ต้นทุน สนับสนุน

  48. ปันค่าใช้จ่ายส่วนกลางปันค่าใช้จ่ายส่วนกลาง

  49. ปันค่าใช้จ่ายหน่วยงานสนับสนุนปันค่าใช้จ่ายหน่วยงานสนับสนุน • เรียงข้อมูลตามศูนย์ต้นทุน • เลือกและตัดรายการของศูนย์ต้นทุนสนับสนุนที่ไปสมุดงานใหม่ • รวมจำนวนเงินสำหรับแต่ละศูนย์ต้นทุนสนับสนุน • ปันส่วนไปยังศูนย์ต้นทุนหลัก ศูนย์ต้นทุน สนับสนุน ศูนย์ต้นทุนหลัก

More Related