1 / 61

Technical Economic Feasibility Study

Technical Economic Feasibility Study. จำนวนผู้เข้าชมงาน (หน่วย ล้านคน). *. *. *ประมาณการณ์. Comparison with No-Rail Scenario. Bang Sai With Rail: 37 m No Rail: 36.3 m. การรอบรับด้านโรงแรมที่พัก. ขีดความสามารถด้านห้องพักในปัจจุบัน.

jayme-bowen
Download Presentation

Technical Economic Feasibility Study

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Technical Economic Feasibility Study

  2. จำนวนผู้เข้าชมงาน (หน่วย ล้านคน) * * *ประมาณการณ์

  3. Comparison with No-Rail Scenario Bang Sai With Rail: 37 m No Rail: 36.3 m.

  4. การรอบรับด้านโรงแรมที่พักการรอบรับด้านโรงแรมที่พัก

  5. ขีดความสามารถด้านห้องพักในปัจจุบันขีดความสามารถด้านห้องพักในปัจจุบัน แหล่งข้อมูล :1) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ที่พักในแหล่งท่องเที่ยว (โรงแรม เก็สเฮาส์ รีสอร์ท กรกฎาคม-กันยายน 2553) 2) การประมาณการของบริษัท AECOM Economics

  6. สรุปความต้องการใช้ที่ดินเพื่อการวางแผนโดยรวมสรุปความต้องการใช้ที่ดินเพื่อการวางแผนโดยรวม

  7. การเดินทางมายังสถานที่จัดงานการเดินทางมายังสถานที่จัดงาน

  8. การเดินทางมายังสถานที่จัดงานในชั่วโมงที่มีผู้เข้าชมงานเดินทางมายังสถานที่จัดงานสูงสุด จำแนกตามรูปแบบการเดินทาง ในหน่วยพาหนะ • พาหนะส่วนตัว: 3คน/คัน • รถจักรยานยนต์: 1.6 คน/คัน • รถบัส: 40 คน/ คัน • รถไฟ: 80 คน/โบกี้ • รถแท็กซี: 2.5 คน/คัน • รถบัสรับ-ส่ง: 40 คน/คัน • เรือ: 30 คน/ลำ

  9. ความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐานและการขนส่ง • น้ำ และน้ำเสีย • ขยะ • พลังงาน

  10. ความต้องการน้ำและการก่อให้เกิดน้ำเสียความต้องการน้ำและการก่อให้เกิดน้ำเสีย การประมาณการความต้องการน้ำสำหรับการศึกษาครั้งนี้มาจากจำนวนผู้เข้าชมงานเป็นสำคัญ เนื่องจากในอดีตไม่มีการบันทึกเกี่ยวกับการบริโภคน้ำในงานมหกรรมโลกเวิลด์ เอ็กซ์โปไว้เป็นเอกสาร ดังนั้นในการวิเคราะห์ครั้งนี้จึงใช้อัตราการบริโภคน้ำที่สนามกีฬาซึ่งมีแนวโน้มว่าจะเป็นงานใหญ่เท่าๆ กับงานเอ็กซ์โป สำหรับกรณีการจัดแสดงนิทรรศการนั้น การก่อให้เกิดน้ำเสียอยู่ที่ประมาณร้อยละ 80 ของความต้องการน้ำที่ดื่มได้เนื่องจากจะไม่นับเรื่องการอาบน้ำหรือการชะล้างใดๆ ปัจจัยเกี่ยวกับการครอบครอง (the occupancy factor) ก็ได้รับการพิจารณาอย่างระมัดระวังในการวิเคราะห์ครั้งนี้ โดยมีสมมติฐานว่าผู้เข้าชมงานและเจ้าหน้าที่แต่ละรายจะใช้เวลา 8 ชั่วโมงต่อวันในสถานที่จัดงาน เมื่อรวมปัจจัยเกี่ยวกับการครองครองด้วยแล้ว อัตราการบริโภคน้ำและอัตราการก่อให้เกิดน้ำเสียจะอยู่ที่ประมาณ 50 และ 40 ลิตรต่อหัวต่อวันตามลำดับ การประมาณการความต้องการน้ำและการก่อให้เกิดน้ำเสียมีดังนี้

  11. ขยะ (Solid waste) ในปัจจุบัน ขยะในพระนครศรีอยุธยาถูกจัดเก็บโดยบริการอนามัยของเทศบาลหรือตำบลและนำไปยังสถานที่ฝังกลบหรือเตาเผาขยะ มีรายงานว่า ร้อยละ 35 ของขยะที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาลจะถูกจัดการเป็นอย่างดี ในขณะที่เพียงร้อยละ 6 ของขยะที่เกิดขึ้นนอกเขตเทศบาลก็จะถูกควบคุมอย่างเหมาะสมในประเทศไทยส่วนที่เหลือถูกจัดการในลักษณะที่ไม่ถูกสุขลักษณะเช่น ทิ้งในที่โล่งแจ้ง ทิ้งโดยผิดกฎหมาย และเผาในที่โล่งแจ้ง ประมาณกันว่าอัตราการก่อให้เกิดขยะต่อหัวในแต่ละวันในประเทศไทยอยู่ที่ 0.65 กก./คน/วัน ในขณะที่ การประมาณการการก่อให้เกิดขยะต้องใช้อัตราโดยทั่วไปของการก่อให้เกิดขยะในงานเอ็กซ์โป แต่ไม่มีสถิติของข้อมูลดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ได้มีการบันทึกข้อมูลในรายละเอียดเกี่ยวกับขยะไว้เป็นอย่างดีสำหรับงานเอ็กซ์โปที่เมืองไอจิเมื่อปีพ.ศ. 2548 รายงานดังกล่าวระบุว่าการก่อให้เกิดขยะโดยรวมระหว่างการจัดงานเป็นเวลา 6 เดือนนั้นมีประมาณ 5,569.5 ตัน ขณะที่ผู้เข้าชมงานกว่า 22 ล้านคน เข้าร่วมงานเอ็กซ์โปที่เมืองไอจิ เพื่อการคำนวณ จึงกำหนดอัตราการก่อให้เกิดขยะโดยพิจารณาจากปริมาณโดยรวมของขยะจากงานเอ็กซ์โปที่เมืองไอจเมื่อปีพ.ศ. 2548 และจำนวนรวมของผู้เข้าชมงาน จากอัตรานี้คำนวณออกมาได้ที่ 0.25 กก./คน/วัน ซึ่งรวมทั้งลูกจ้างและผู้เข้าชมงาน แม้กระนั้น จำนวนนี้ก็ยังต่ำกว่าอัตราการก่อให้เกิดขยะโดยเฉลี่ยในประเทศไทยอยู่มาก ดังนั้น จึงดูจะสมเหตุสมผลสำหรับสมมติฐานที่ว่าเวลาเข้าชมงานโดยปกติของผู้เข้าชมงานทั้งหมดคือประมาณ 8 ชั่วโมงต่อวัน จากข้อเท็จจริงที่ค้นพบเหล่านี้ ก็จะได้ประมาณการการก่อให้เกิดขยะสำหรับสถานที่แต่ละแห่งในวันที่มีผู้เข้าชมงานสูงสุด แหล่งข้อมูล: การวางแผนด้านสิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยาของบริษัท AECOM Economics กรมควบคุมมลพิษ 2550 รายงานเรื่องมลพิษของทางการไทย ปี 2550 กรมควบคุมมลพิษ 2550 รายงานเรื่องมลพิษของทางการไทย ปี 2550 Okayama T. ปี 2550. การวิเคราะห์กระแสขยะและผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของการจัดการขยะในงานเอ็กซ์โปที่เมืองไอจิ ในการประชุมระหว่างประเทศเรื่อง Eco Topia Science ปี 2550 สมาคมเพื่องานมหกรรมโลกเวิลด์ เอ็กซ์โปแห่งญี่ปุ่นปี 2548, รายงานเรื่องงานมหกรรมโลกเวิลด์ เอ็กซ์โป ปี 2548 ที่เมืองไอจิ ประเทศญี่ปุ่น

  12. พลังงาน เช่นเดียวกับข้อมูลการจัดงานเอ็กซ์โปอื่นๆ ที่ไม่มีการบันทึกไว้เป็นเอกสารเกี่ยวกับการบริโภคพลังงานต่อหัวต่อวันโดยทั่วไป เมืองเซวิลล์ (2535) เป็นสถานที่จัดงานเอ็กซ์โปแห่งหนึ่งในไม่กี่แห่งที่มีข้อมูลในรายละเอียดเกี่ยวกับการบริโภคพลังงานมากกว่าที่อื่น รายงานการจัดงานมหกรรมโลกที่เมืองเซวิลล์ปี พ.ศ. 2535 ระบุว่า การบริโภคพลังงานต่อวันที่สูงสุดที่เซวิลล์คือประมาณ 829 เม็กกะวัตต์ ขณะที่มีผู้เข้าชมงานสูงสุด (จากผู้เข้าชมงานรวม 42.8 ล้านคน) คือประมาณ 380,000 คนต่อวัน จากข้อมูลดังกล่าวการบริโภคพลังงานคร่าวๆ ที่งานเอ็กซ์โปที่เซวิลล์คือ 0.002 เม็กกะวัตต์/คน/วัน ตัวเลขนี้ดูสมเหตุสมผล เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาอีกฉบับหนึ่งเกี่ยวกับการบริโภคพลังงานที่สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในนิวซีแลนด์ ที่นั่น ความต้องการพลังงานประมาณ 0.0017 เม็กกะวัตต์/คน/วัน[1]เมื่อใช้เกณฑ์นี้ จึงได้ประมาณการความต้องการพลังงานสำหรับสถานที่เสนอเพื่อการจัดงานแต่ละแห่งจากประมาณการผู้เข้าชมงานและเจ้าหน้าที่ในงานเอ็กซ์โปในวัน design day คือ 832 เม็กกะวัตต์/วัน แหล่งข้อมูล:ประมาณการทางเศรษฐกิจของบริษัท AECOM Economics [1] Suzanne Becken,“ การใช้พลังงานในแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวในประเทศนิวซีแลนด์”(Landcare Research and Tourism, Lincoln University, February 2001.) http://www.lincoln.ac.nz/PageFiles/6834/892_encnsmtn_s3347.pdf

  13. Ticket Pricing and Policy

  14. ราคาของบัตรเข้าชมงาน ในปี 2020 ประชาชนชาวไทยจะมีรายด้ายที่สูงขึ้นในปีค.ศ.2020 เพราะฉนั้นบัตรเข้าชมงานควรมีราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย AECOM ได้คำนึงถึงผลกระทบจากค่า GDP จริง ต่อหัวที่สูงขึ้นและ สภาวะเงินเฟ้อในราคาของบัตรเข้าชมงานที่เสนอแล้ว สภาวะการเจริญเติบโตที่อาจเกิดขึ้น 3 แบบคำนวนจากค่าแตกต่างของผลแสดงต่างๆ 3.50% การเติบโต +2.25% เงินเฟ้อ ฿1,230 / $40.86 4.00% การเติบโต +2.25% เงินเฟ้อ ฿1,300 / $43.19 4.50% การเติบโต + 2.25% เงินเฟ้อ ฿1,360 / $45.18 ขึ้นอยู่กับสภาวะเงินเฟ้อ ราคาอาจสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ดี ราคาที่สูงเกินไปอาจสูงเกินตัวเกินตัวเลขที่คนไทยหลายคนจะจ่ายไหว ทำให้จำนวนผู้เข้าชมลดลงไปด้วย Ticketing Policy

  15. การให้การสนับสนุนการจัดงาน (Sponsorship)

  16. ประเภทของผู้สนับสนุนงาน Expo ผู้สนับสนุนการจัดงานอย่างเป็นทางการ (Official Sponsor) - ผู้สนับสนุนหลักระดับหุ้นส่วน เช่น ผู้สนับสนุนเป็นแบรนด์สินค้าประจำประเทศ หรือจากประเทศต่างๆ, ผู้นำทางการค้าและธุรกิจ, ผู้สนับสนุนทางการค้าจากประเทศต่างๆ (exclusive) - ผู้สนับสนุนอาวุโสเช่น องค์กรผู้สนับสนุนในระดับภูมิภาคและระดับชาติ หรือบริษัทระดับภูมิภาค, ผู้นำทางการค้า ผู้จัดหาสินค้าอย่างเป็นทางการ (Official Supplier) - ผู้จัดหาสินค้า และบริการ และการคมนาคม ผู้จัดแสดงนิทรรศการที่เป็นบริษัท (Corporate Exhibitor) - สร้างศาลา (pavilion)และดำเนินการด้วยทุนทรัพย์ของตัวเอง ผู้สนับสนุนโครงการ (Project Sponsor) -สนับสนุนในการก่อสร้างอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ Shanghai EXPO มีผู้ร่วมสนับสนุนหลักระดับหุ้นส่วน 13 ราย และผู้สนับสนุนระดับสูงอีก 13 ราย Zaragoza EXPOมีผู้ร่วมสนับสนุน 6 ราย คาดว่า Thai 2020 EXPOจะมีผู้สนับสนุนศาลา (pavilion)10 ราย Expo Sponsorship

  17. การคาดคะเนการสนับสนุนแบบเต็มอัตรา (Aggressive Sponsorship) สันนิษฐานว่าทางรัฐทีนโยบายให้ผู้ที่ให้การสนับสนุนหรือเป็น sponsor ให้กับงาน Expo ได้รับการยกเว้นภาษีในส่วนของเงินที่สนับสนุน ซึ่งนโยบายนี้จะทำให้มีเกิดการขาย sponsor ในระดับนานาชาติได้ดีมาก คำเตือน: การสนับสนุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการกีฬามีจำนวนจำกัด ผู้ร่วมสนับสนุนระดับหุ้นส่วน 10 @ US$10 - $15ล้าน (รวมค่าสร้างซุ้มแล้ว) ผู้ร่วมสนับสนุนระดับสูง (อาวุโส) 20 @ US$2-$4ล้าน ผู้สนับสนุนในการจัดหา(สินค้าหรือบริการ) 20@ US$100,000ถึง $1ล้าน มีผู้สนับสนุนทางสื่อเพิ่มเติม US$150 – US$200ล้าน (US$175ล้าน) การคาดคะเนแบบเต็มอัตรา (Aggressive estimate) ของการสนับสนุนเงิน @15%ของรายได้จากการดำเนินการ US$250 – US$330ล้าน(US$330ล้าน) การคาดคะเนแบบเต็มอัตรา (Aggressive estimate) ของการสนับสนุนเงิน @25%-35%ของงบประมาณทั้งหมด อย่างไรก็ดีราคาที่ EXPO corporation คิดสามารถสูงกว่านี้ อ้างอิงจาก: การคาดคะเนโดย AECOM Operating Revenues

  18. สรุปรายได้

  19. สรุปรายได้จากการจัดงานสำหรับสถานที่ทั้งสามแห่ง (คิดผู้สนับสนุนแบบเต็มอัตรา aggressive) (ไม่คำนวนค่าเงินเฟ้อ) Source: AECOM estimates Operating Revenues

  20. สรุปรายได้จากการจัดงานสำหรับสถานที่ทั้งสามแห่ง (คิดผู้สนับสนุนแบบเต็มอัตรา aggressive)(แบบคำนวนค่าเงินเฟ้อ) (หน่วยเป็นพันล้าน) $2.055 B61.842 Source: AECOM estimates

  21. สรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ประมาณการในปี 2563) • ประมาณการรายได้จากการจัดงาน 61,841,738,677บาท • ประมาณการงบลงทุนของการจัดงาน31,569,268,680 บาท • มูลค่าของการเพิ่มขึ้นทางเศรษฐกิจ194,390,937,287 บาท • ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่อการลงทุนของการจัดงาน6เท่า • ส่งผลต่อการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศปี 2563เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 แหล่งข้อมูล :ประมาณการของบริษัท AECOM Economics

  22. สรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ประมาณการในปี 2563) • ประมาณการรายได้จากการจัดงาน 61,841,738,677บาท • ประมาณการงบลงทุนของการจัดงาน31,569,268,680 บาท • มูลค่าของการเพิ่มขึ้นทางเศรษฐกิจ194,390,937,287 บาท • ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่อการลงทุนของการจัดงาน6เท่า • ส่งผลต่อการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศปี 2563เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 แหล่งข้อมูล :ประมาณการของบริษัท AECOM Economics

  23. แหล่งที่มาของรายได้ของงานเอ็กซ์โป คิดเป็นร้อยละ แหล่งข้อมูล:ดัดแปลงจาก Gordon Linden and Paul W. Creighton, The Expo Book: A Guide to the Planning, Organization, Design, and Operation of World Expositions (JRDV Architects, 2010) 79.

  24. การแจกแจงรายได้จากการประกอบการ จากงานครั้งก่อนๆ ค่าเข้างาน – จากค่าเฉลี่ยของราคาเข้าชมงานที่มีประสิทธิภาพ สินค้า –จากเกณฑ์มาตรฐานของงาน Expo ครั้งก่อนๆ กิจกรรมที่ให้ความบันเทิง – อัตราส่วนของราคาค่าเข้าชมงาน อาหารและเครื่องดื่ม – อัตราส่วนของราคาค่าเข้าชม ค่าใช้จ่ายของผู้เข้าชม (ค่าในปีค.ศ.2020) B974 อ้างอิงจาก: AECOM estimates Operating Revenues

  25. การแจกแจงรายได้จากการประกอบการการแจกแจงรายได้จากการประกอบการ ผู้เข้าชมงานใช้จ่าย แบ่งตามจังหวัด (ดอลล่าร์สหรัฐฯ)) Source: AECOM estimates Operating Revenues

  26. For Participant Pavilions In Shanghai, 1000sqm= 4,100 RMB/sqm = 4,100,000 RMB= US$611,940 / pavilion Assuming 1000 sqm pavilion as assumed in parameters http://www.expo2010.cn/expo/expoenglish/ps/sapp/userobject1ai35721.html *D103= cost for construction for 1000 sqm of factory shell = 10,000B For Local, Gov, NGO Pavilions If it's roughly 600,000 for 1000sqm for rental of host-built pavilion, assume that for 500 sqm in joint pavilion, it is LESS than half (because don't need to build walls for each 500sqm space.. Assume that rental of joint-pavilion space is 35% of host-built space. ** Chris, I found a report yesterday saying that, during their bid process, Shanghai pledged US$100 million to help developing countries with their pavilions. Thailand will likely give less to developing countries, but subsidized pavilion prices is one way to help developing countries exhibit ค่าเช่าพื้นที่มาจากการอ้างอิงค่าเฉลี่ยราคาของศาลาการจัดแสดง (pavilion) ขนาดกลางในงานเซี่ยงไฮ้ ค่าเช่าศาลาที่ได้รับการช่วยเหลืออยู่ที่ 50%ของค่าเช่าพื้นที่ศาลาเแบบเต็มราคา การแจกแจงรายได้จากการประกอบการ Operating Revenues อ้างอิงจาก: AECOM estimates

  27. For Participant Pavilions In Shanghai, 1000sqm= 4,100 RMB/sqm = 4,100,000 RMB= US$611,940 / pavilion Assuming 1000 sqm pavilion as assumed in parameters http://www.expo2010.cn/expo/expoenglish/ps/sapp/userobject1ai35721.html *D103= cost for construction for 1000 sqm of factory shell = 10,000B For Local, Gov, NGO Pavilions If it's roughly 600,000 for 1000sqm for rental of host-built pavilion, assume that for 500 sqm in joint pavilion, it is LESS than half (because don't need to build walls for each 500sqm space.. Assume that rental of joint-pavilion space is 35% of host-built space. ** Chris, I found a report yesterday saying that, during their bid process, Shanghai pledged US$100 million to help developing countries with their pavilions. Thailand will likely give less to developing countries, but subsidized pavilion prices is one way to help developing countries exhibit การแจกแจงรายได้จากการประกอบการ ค่าเช่าพื้นที่มาจากการอ้างอิงค่าเฉลี่ยราคาของศาลา (pavilion)ขนาดกลางในงานเซี่ยงไฮ้ ค่าเช่าศาลา (pavilion)ที่ได้รับการช่วยเหลืออยู่ที่ 50% ของค่าเช่าพื้นที่ศาลา (pavilion)แบบเต็มราคา ค่าเช่าพื้นที่ของผู้ประกอบการ (พันดอลล่าร์สหรัฐฯ) Operating Revenues อ้างอิงจาก: AECOM estimates

  28. การแจกแจงรายได้จากการประกอบการการแจกแจงรายได้จากการประกอบการ ค่าจอดรถยนต์ส่วนตัว –อ้างอิงจากเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ค่าจอดรถจักรยานยนต์ – อ้างอิงจากเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ค่าจอดรถประจำทาง – อ้างอิงจากเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ค่าจอดรถ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ดอลล่าร์สหรัฐฯ) B1,249 • การให้สิทธิ์ • การอนุญาตให้ใช้สัญลักษณ์สำหรับสินค้าบริโภค (นอกพื้นที่งาน) • –สัดส่วนของค่าเข้างาน • อื่นๆ • –ค่าเช่ารถเข็น, คู่มือท่องเที่ยวงาน • - สัดส่วนของราคาค่าเข้างาน B312 B125 อ้างอิงจาก: AECOM estimates Operating Revenues

  29. สรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสรุปผลกระทบทางเศรษฐกิจของการจัดงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ประมาณการในปี 2563) • ประมาณการรายได้จากการจัดงาน 61,841,738,677บาท • ประมาณการงบลงทุนของการจัดงาน31,569,268,680 บาท • มูลค่าของการเพิ่มขึ้นทางเศรษฐกิจ194,390,937,287 บาท • ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่อการลงทุนของการจัดงาน6เท่า • ส่งผลต่อการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศปี 2563เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 แหล่งข้อมูล :ประมาณการของบริษัท AECOM Economics

  30. รายละเอียดค่าใช้จ่าย (1/2) 1. การจัดการพื้นที่ • พัฒนาที่ดินบริเวณก่อสร้าง (Site Development) • พื้นที่ทางเข้า (Entrance Area) • พื้นที่โล่งและพื้นที่สำหรับจัดงานกลางแจ้ง • ที่จอดรถ 2. การก่อสร้างต่างๆ • อาคารศาลาไทย (Thailand Pavilion) • ศาลาผู้ร่วมงาน - Expo Corp. สร้าง แล้วให้ประเทศอื่นๆ เช่า • ศาลาของท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค เอ็นจีโอทางสัญจร ทางเท้า • พื้นที่เพื่อบริการผู้เข้าชมงานและการจัดอีเว้นท์ (ห้องน้ำ, พื้นที่สูบบุหรี่ และ รปภ. เป็นต้น) • พื้นที่สำหรับร้านค้าย่อย • พื้นที่ขายอาหารและเครื่องดื่ม (ภัตตาคาร, โรงอาหาร, อาหารจานด่วน, แผงขายอาหาร)

  31. รายละเอียดค่าใช้จ่าย (2/2) 2. การก่อสร้างต่างๆ • อาคารด้านการบันเทิง (มหรสพ ฯลฯ) • อาคารอำนวยการ • พื้นที่บริการ (อาคารประปาและระบบแจกจ่าย อาคาร รปภ. การพยาบาลฉุกเฉิน ฝ่ายดับเพลิง ฝ่ายกำจัดสิ่งปฏิกูล) • ทางเดินรถ ถนนบริการสายย่อย สาธารณูปโภค • หมู่บ้านเอ็กซ์โป 3. ระบบสาธารณูปโภค • ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้า • จุดกลับรถเกือกม้า และสะพานเชื่อมจากทางด่วน 4. อื่นๆ • ชำระค่าที่ดิน

  32. แผนการลงทุน จากผลการศึกษาศักยภาพและความพร้อมทางกายภาพเชิงเทคนิค เปรียบเทียบ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดเชียงใหม่ โดยประมาณการจำนวนผู้เข้าชมงาน ประมาณการขีดความสามารถด้านที่พัก ประมาณการรายได้จากการจัดงาน การศึกษาและวิเคราะห์รายได้ (Revenue Projection) มีแนวทางเป็นไปในทางเดียวกับข้อสังเกตและข้อคิดเห็นของเลขาธิการสำนักงานมหกรรมโลกเวิลด์ เอ็กซ์โป ที่เห็นว่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพและความพร้อมที่เหมาะสมที่สุด 1 พื้นที่จัดงานของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ดินที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเสนอเพื่อพิจารณา ดังนี้ ทางเลือกที่ 1คือ ที่ดินสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) และพื้นที่ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ (บางส่วน) เป็นพื้นที่ประมาณ 1,200-1,500 ไร่ โดยทางเลือกที่ 1 (พื้นที่สปก. และศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ) ถือว่าเป็นพื้นที่ของรัฐ ซึ่งต้องดำเนินการตามขั้นตอนต่อไป แต่หากไม่สามารถใช้ที่ดิน สปก. ซึ่งเป็นพื้นที่เพื่อการเกษตรเพื่อการจัดงานมหกรรมโลกเวิลด์ เอ็กซ์โป 2020 ได้นั้น จังหวัดได้เสนอทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 2เป็นที่ดินในบริเวณใกล้เคียงของเอกชน ถัดลงมาด้านทิศใต้ ใกล้กับถนนวงแหวน ฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นพื้นที่รวมประมาณ 1,200-1,500 ไร่

  33. ประมาณการการลงทุนของพื้นที่จัดงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ประมาณการการลงทุนเบื้องต้น ณ ปี 2563 (คำนวณรวมเงินเฟ้ออัตราร้อยละ 2.25 ต่อปี) • 31,569,268,680 ล้านบาท โดยคำนวณจากสมมติฐาน ดังนี้ • คำนวนจากพื้นที่ 1,200 ไร่ หรือ 1,920,000 ตารางเมตร เพราะ 1,200 ไร่คือพื้นที่ขั้นต่ำในการวางแผนการจัดงานเวิลด์ เอ็กซ์โป • คำนวนจากจำนวนผู้เข้าชมงานที่ 27 ล้านคน • การประเมินราคาได้คำนวณจากสมมติฐาน ดังนี้ • ต้องซื้อพื้นที่จากเอกชน • รัฐบาลเป็นผู้สร้างที่อยู่อาศัย หมู่บ้านเอ็กซ์โป • มีส่วนต่อขยายระบบรถไฟฟ้าชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงรังสิต - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตเพื่อเชื่อมต่อการเดินทางสู่สถานที่จัดงาน • ขนาดพื้นที่จำนวน 1,200 ไร่ • การประเมินราคาได้อ้างอิงมาจากราคากลางของหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ • เอกสารสรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์การคำนวนราคางานก่อสร้าง สำนักมาตรฐานงบประมาณฉบับเมษายน 2553 • บัญชีราคามาตรฐานสิ่งก่อสร้าง สำนักงบประมาณ ฉบับ มีนาคม 2553 • สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม • ข้อมูลประมาณราคากลาง ราคากรมทางหลวง • สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (เพราะเนื่องจากไม่พบบางรายการในเอกสารของสำนักงบประมาณ)

  34. ไฟล์ใบประเมินราคา

  35. การวิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจการวิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ

  36. การศึกษาได้มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจบน 3 หัวข้อหลัก คือ • 1 ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวที่กระจายไปยังภาคธุรกิจต่างๆ • 1.1 ที่พัก • 1.2 อาหารและเครื่องดื่ม • 1.3 กิจกรรมบันเทิงต่างๆ • 1.4 ร้านค้า • 1.5 การคมนาคมท้องถิ่น • 2 ค่าใช้จ่ายของผู้จัดงานเวิลด์ เอ็กซ์โป และผู้สนับสนุน ที่กระจายไปยังภาคธุรกิจต่างๆ • 2.1 เจ้าหน้าที่ในงานเวิลด์ เอ็กซ์โป และเจ้าหน้าที่ของผู้สนับสนุน • 2.2 การโฆษณาและการบริการทางธุรกิจ • 2.3 สินค้าต่างๆ • 7.3 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง (Construction) • โดยแยกการคำนวนของทั้ง 3 หัวข้อหลักด้านบนเป็น 4 เรื่อง ได้แก่ • 1. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (หน่วยเป็นบาท) • ผลกระทบทางเศรษฐกิจทางตรง (Direct Impact) คือ ผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยตรงชั้นแรกในทันที ที่เกิดขึ้นจากโครงการนี้ • ผลกระทบทางเศรษฐกิจทางอ้อม (Indirect Impact) คือ ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั้งหมดนับจากชั้นแรกลงมา โดยผู้ผลิตหรือผู้รับจ้างชั้นแรกได้จ้างช่วงงานต่อไปยังธุรกิจ • การชักนำให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Induced Impact) เป็นผลของการใช้จ่ายของแรงงานในระบบเศรษฐกิจ จากการถูกจ้างงานให้ดำเนินกิจกรรมทั้งสิ้นของโครงการ (ทั้งจากทางตรงและทางอ้อม) ซึ่งก่อให้เกิดผลเหนี่ยวนำให้เกิดการใช้จ่ายจากรายได้ของแรงงานที่เกิดจากการจ้างงาน • 2. ค่าตอบแทนแรงงาน (หน่วยเป็นบาท) • ค่าตอบแทนแรงงานทางตรง (Direct Remuneration) – ค่าจ้างที่จ่ายให้แก่แรงงานผู้ซึ่งถูกว่าจ้าง • เกี่ยวเนื่องกับโครงการ • ค่าตอบแทนแรงงานทางอ้อม (Indirect Remuneration) – ค่าจ้างที่เกิดจากการสะพัดของการใช้จ่าย • ของแรงงานในโครงการ • 3. จำนวนการจ้างงาน (หน่วยเป็นอัตรา) • การจ้างงานทางตรง – การจ้างงานที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับโครงการ • การจ้างงานทางอ้อม – การจ้างงานที่เกิดจากการสะพัดของการใช้จ่ายของแรงงานในโครงการ • 4. มูลค่ารวมของการเพิ่มขึ้นทางเศรษฐกิจอันเกิดจากโครงการนี้

  37. อยุธยา – ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ (USD) Economic Impact

  38. อยุธยา – ค่าตอบแทนโดยรวม (ค่าจ้างและค่าแรง) (USD) Economic Impact

  39. อยุธยา – การสร้างงาน Economic Impact

  40. อยุธยา – การเพิ่มมูลค่าโดยรวมต่อเศรษฐกิจ Economic Impact

  41. โครงข่ายการขนส่งของจังหวัดอยุธยาโครงข่ายการขนส่งของจังหวัดอยุธยา

  42. Accessibility to the Site • By Land • 75 km. from Center of Bangkok to Center of Ayutthaya • 53 km. from Center of Bangkok to Potential Site (Bangsai) • By Railway • 72 km. from Bangkok (Hualumpong Station) - Ayutthaya Station • 46 km. from Bangkok (Hualumpong Station) to Potential Site (Chiangraknoi Station) • By River • 123 km. from Ta Chang Pier to Panuncheng Pier (Center of ayutthaya) • 100 km. from Ta Chang Pier – Potential Site (Bangsai)

  43. แผนพัฒนา 10 ปี • ทางหลวงเอเชีย (ASEAN Highway) • ทางหลวงจังหวัด • ทางหลวงชนบท • ทางด่วนพิเศษ • รถไฟความเร็วสูง • รถไฟฟ้าชานเมือง

  44. Development Plan of Land Transportation • Motorway : Bang Pa inn - NakhonSawan • Motorway : Bang Pa inn - NakhonRatchasima • Highway construction projects around the Bangkok Outer Ring Road 3 • The travel time between Bangkok and Ayutthaya will be up to 40 minutes Bang Pa inn - Nakhon Sawan Bang Pa inn- Nakhon Ratchasima

  45. Economic Corridor Visitors from China and neighboring countries may travel to the province by car or rail transportation via the route along the East – West Corridor (East-West Economic Corridor: EWEC) Or route number 9. (R9)

More Related