1 / 120

จากแนวคิดในการปริพันธ์จำกัดเขตของฟังก์ชัน f จาก a ถึง b

จากแนวคิดในการปริพันธ์จำกัดเขตของฟังก์ชัน f จาก a ถึง b. ถ้าฟังก์ชัน f นิยามเมื่อ และเราสามารถแบ่งช่วง [ a , b ] ได้เป็น n ช่วงด้วยความกว้าง . กำหนดให้ . เป็นจุดปลายของช่วงย่อยดังกล่าวและ . เป็นจุดซึ่ง. ถ้า. หาค่าได้ เราจะกล่าวว่าฟังก์ชัน f หาปริพันธ์ได้.

janet
Download Presentation

จากแนวคิดในการปริพันธ์จำกัดเขตของฟังก์ชัน f จาก a ถึง b

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จากแนวคิดในการปริพันธ์จำกัดเขตของฟังก์ชัน fจาก aถึง b ถ้าฟังก์ชัน fนิยามเมื่อ และเราสามารถแบ่งช่วง [a,b] ได้เป็น n ช่วงด้วยความกว้าง กำหนดให้ เป็นจุดปลายของช่วงย่อยดังกล่าวและ เป็นจุดซึ่ง ถ้า หาค่าได้ เราจะกล่าวว่าฟังก์ชัน fหาปริพันธ์ได้ บนช่วง [a,b]และเรียกสัญกรณ์ ว่าปริพันธ์จำกัดของของฟังก์ชัน fจาก aถึง b

  2. ซึ่งแนวคิดดังกล่าวทำให้สามารถหาพื้นที่ใต้กราฟซึ่งแนวคิดดังกล่าวทำให้สามารถหาพื้นที่ใต้กราฟ ของเส้นโค้ง y=f(x) ระหว่าง x=aและ x=b ได้ ในทำนองเดียวกันเราขยายแนวคิดไปสู่ฟังก์ชัน f ของ สองตัวแปร นิยามบนเซต ถ้าสมมติให้ เราสามารถร่างกราฟผิวโค้ง ได้ดังนี้

  3. ถ้ากำหนดให้ Sเป็นทรงตันที่อยู่เหนือบริเวณ และอยู่ใต้ผิวโค้ง นั่นคือ เราจะสามารถหาปริมาตรของทรงตันดังกล่าวได้โดย พิจารณาจาก

  4. เราจะแบ่งช่วง [a,b] ได้เป็น m ช่วงด้วยความกว้าง โดยช่วงย่อย m ช่วงดังกล่าวคือ ในทำนองเดียวกัน เราจะแบ่งช่วง [c,d] ได้เป็น n ช่วงด้วยความกว้าง โดยช่วงย่อย n ช่วงดังกล่าวคือ

  5. ดังนั้นบริเวณ Rจะถูกแบ่งเป็นบริเวณย่อยจำนวน mnบริเวณ ได้แก่

  6. บริเวณ Rijจะมีพื้นที่เท่ากับ พบว่าปริมาตรของทรงตันเล็กรูปกล่อง ถ้าให้ คือ

  7. เราสามารถประมาณค่าปริมาตรของทรงตัน Sดังกล่าวได้โดย มีค่าเท่ากับผลรวมของปริมาตรของทรงตันรูปกล่องเล็กทั้งหมด หรือก็คือ

  8. ถ้า m และnมีค่ามากขึ้น จะทำให้ประมาณของปริมาตร ดังกล่าวได้ถูกต้องมากขึ้น ดังนั้น

  9. ดังนั้นเราสามารถนิยามการหาปริพันธ์สองชั้นบนดังนั้นเราสามารถนิยามการหาปริพันธ์สองชั้นบน บริเวณ Rได้ดังนี้ บทนิยาม เราจะนิยามปริพันธ์สองชั้น (double integral)ของฟังก์ชัน f บนบริเวณ R ได้โดย ถ้าลิมิตหาค่าได้

  10. จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ได้สมบัติของ ปริพันธ์สองชั้นที่น่าสนใจดังนี้ สมบัติของปริพันธ์สองชั้น ถ้าปริพันธ์ และ หาค่าได้แล้ว 1. 2. เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ 3.

  11. เราอาจเขียนรวมสมบัติทั้ง 3 ข้อที่กล่าวมาในรูป เมื่อ และ  เป็นค่าคงตัวใด ๆ และสมบัติของปริพันธ์สองชั้นนี้ว่า สมบัติความเป็นเชิงเส้นของปริพันธ์สองชั้น (linearity of double integral)

  12. สมบัติของปริพันธ์สองชั้นสมบัติของปริพันธ์สองชั้น ถ้า ทุก ๆ แล้ว 4. ถ้า ทุก ๆ แล้ว 5.

  13. สมบัติของปริพันธ์สองชั้นสมบัติของปริพันธ์สองชั้น กำหนดให้ และ 6. แล้ว

  14. สมบัติของปริพันธ์สองชั้นที่น่าสนใจสมบัติของปริพันธ์สองชั้นที่น่าสนใจ กำหนดให้ และ 7. แล้ว

  15. การหาค่าปริพันธ์สองชั้นการหาค่าปริพันธ์สองชั้น (Evaluation of the Double Integral)

  16. ในการหาค่าปริพันธ์ เมื่อ สามารถทำได้ 2 กรณีดังนี้ กรณีที่ 1 กรณีที่ 2

  17. กรณีที่ 1 ก่อน สำหรับกรณีนี้จะเริ่มต้นหาปริพันธ์ สำหรับการหาปริพันธ์ นี้ จะกำหนดให้ตัวแปร xเป็นเสมือนค่าคงตัว แล้วทำการหาปริพันธ์ของ เทียบกับตัวแปรy จาก y=cถึงy=dเรียกขั้นตอนดังกล่าวนี้ว่า การหาปริพันธ์ย่อยเทียบกับตัวแปร y (partial integration with respect toy)

  18. ที่คำนวณได้ จะเป็นฟังก์ชันที่ขึ้นกับ ปริพันธ์ ตัวแปรx

  19. ขั้นตอนถัดไป ให้หาปริพันธ์ของฟังก์ชัน A(x) เทียบกับตัวแปรx จาก x=aถึง x=b เราเรียกกระบวนการในการหาปริพันธ์ดังกล่าวนี้ว่า การหาปริพันธ์ซ้อน (iterated integration)

  20. กรณีที่ 2 ก่อน สำหรับกรณีนี้จะเริ่มต้นหาปริพันธ์ โดยหลักการคล้ายกันกรณีแรก ในการหาปริพันธ์ yเป็นเสมือนค่าคงตัว แล้วทำการ จะกำหนดให้ตัวแปร หาปริพันธ์ เทียบกับตัวแปรx จาก x=aถึงx=b เรียกขั้นตอนดังกล่าวนี้ว่า การหาปริพันธ์ย่อยเทียบกับตัวแปร x (partial integration with respect tox)

  21. ที่คำนวณได้ จะเป็นฟังก์ชันที่ขึ้นกับ ปริพันธ์ ตัวแปรy

  22. ขั้นตอนถัดไป ให้หาปริพันธ์ของฟังก์ชัน B(y) เทียบกับตัวแปรy จาก y=cถึง y=d สังเกตได้ว่าการหาปริพันธ์ทั้งสองกรณีที่กล่าวมาเป็นการหา ปริพันธ์จากภายในก่อนแล้วหาปริพันธ์ภายนอก

  23. ตัวอย่างการหาปริพันธ์ซ้อนตัวอย่างการหาปริพันธ์ซ้อน ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า

  24. ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า

  25. ทฤษฎีบทของฟุบินิอ่อน (Weak Fubini Theorem) ถ้าฟังก์ชัน fต่อเนื่องบนบริเวณ แล้ว

  26. จงหาค่าปริพันธ์

  27. ค่าของ คือ

  28. ค่าของ คือ

  29. การหาปริมาตรของทรงตันเหนือบริเวณรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าการหาปริมาตรของทรงตันเหนือบริเวณรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยปริพันธ์สองชั้น (Volumes of the Solids over the Rectangles by Double Integrals)

  30. จากแนวคิดในการนิยามปริพันธ์สองชั้นจากแนวคิดในการนิยามปริพันธ์สองชั้น สร้างรูปให้เอียงในมุมเดียวกันนะครับ

  31. และบทนิยามปริพันธ์สองชั้นบนบริเวณ R ทำให้เราสามารถหาปริมาตรของทรงตัน Sที่อยู่เหนือบริเวณ และอยู่ใต้ผิวโค้ง ได้โดย

More Related