1 / 21

แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees

แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees. ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis Linn. วงศ์ : V erbenaceae ชื่ออื่นๆ : สักทอง , กระเบียด. ประโยชน์ของไม้สัก. เพดานเรือ เครื่องเรือน. ที่มา :http://www.weekendhobby.com .

jalia
Download Presentation

แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แมลงศัตรูไม้สักInsect Pest of Teak Trees

  2. ชื่อสามัญ :Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ :Tectona grandis Linn. วงศ์ :Verbenaceae ชื่ออื่นๆ :สักทอง, กระเบียด

  3. ประโยชน์ของไม้สัก เพดานเรือ เครื่องเรือน ที่มา:http://www.weekendhobby.com ที่มา: http://www.thaisecondhand.com

  4. ประโยชน์ของไม้สัก บ้านเรือน ไม้พื้น ที่มา: http://www.gmwebsite.com ที่มา: http://www.paidoo.com

  5. ชนิดของไม้สักแบ่งตามเนื้อไม้ชนิดของไม้สักแบ่งตามเนื้อไม้ • ไม้สักทอง • ไม้สักหยวก • ไม้สักไข • ไม้สักหิน • ไม้สักไข ทีมา: http://www.thaiwoodproduct.com ที่มา: http://www.fastfloors.com

  6. ชนิดของไม้สักแบ่งตามเนื้อไม้ชนิดของไม้สักแบ่งตามเนื้อไม้ • ไม้สักขี้ควาย • ไม้สักหิน • ไม้สักไข ที่มา: http://www.street-center.com

  7. ประเภทของแมลงศัตรูไม้สักประเภทของแมลงศัตรูไม้สัก • Trunkand branch borers 10 ชนิด • Leaf feeders 33 ชนิด • Root feeders 3 ชนิด • Inflorescense and fruit destroyers 12 ชนิด • Sap suckers 17 ชนิด

  8. แมลงศัตรูที่สำคัญของสักแมลงศัตรูที่สำคัญของสัก • หนอนผีเสื้อกินใบสัก (Teak Defoliator) • ผีเสื้อเจาะต้นสัก (Teak beehole borrer) • หนอนเจาะกานลำต้นสัก (Teak canker grub)

  9. หนอนผีเสื้อกินใบสัก (Teak Defoliator) • ชื่อสามัญ : หนอนผีเสื้อกินใบสัก, Teak Defoliator • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hyblaea puera Cramer • อันดับ : Lepidoptera • วงศ์ : Hyblacidae ที่มา : http://www.dnp.go.th

  10. ความสำคัญและการเข้าทำลายความสำคัญและการเข้าทำลาย • ระบาดปลายเดือนเมษายนของทุกปี • ตัวหนอนจะกินใบแหว่งเว้า เหลือเส้นกลางใบและเส้นใบ ขนาดใหญ่ • ระบาดได้1-3 ครั้งต่อปี ที่มา: http://www.dnp.go.th/FOREMIC/NFomic/reserch/Paper/teak.htm

  11. ทีมา: http://www.dnp.go.th/FOREMIC/NFomic/reserch/Paper/teak.htm

  12. การป้องกันและกำจัด • Bacillus thuringiensis

  13. หนอนผีเสื้อเจาะต้นสัก (Teak beehole borer) • ชื่อสามัญ: หนอนผีเสื้อเจาะลำต้น, Teak beehole borrer • ชื่อวิทยาศาสตร์: Xyleutes ceramicus Walker • อันดับ: Lepidoptera • วงศ์: Cosssidae ที่มา : http://www.dnp.go.th

  14. ความสำคัญและการเข้าทำลายความสำคัญและการเข้าทำลาย • หนอนทำให้เกิดรู ในเนื้อไม้ ขนาด8-12 มม. และยาว 20-38 ซม. • จำนวนรูมากถึง 121 รู/ต้น • การเจาะทำลายเป็นลักษณะการเพิ่มพูน ที่มา: :http://www.dnp.go.th/FIG/regional_centres/lampang/tbbdetail.htm

  15. ที่มา:http://www.dnp.go.th/FIG/regional_centres/lampang/tbbdetail.htm

  16. การป้องกันและกำจัด • Bacillus thuringinesis • ระยะเวลาที่ดีที่สุดคือ เมษายน –พฤษภาคม

  17. หนอนเจาะกานลำต้นสัก (Teak canker grub) • ชื่อสามัญ : หนอนเจาะกานลำต้นสัก, หนอนสร้างปมลำ ต้นสัก , Teak canker grub • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acalolepta cervina Hope • อันดับ : Coleoptera • วงศ์ : Cerambycidae ที่มา : http://www.dnp.go.th

  18. ความสำคัญและการเข้าทำลายความสำคัญและการเข้าทำลาย • หนอนกินส่วนกระพี้และเยื่อเจริญ (Cambium) • กระตุ้นสักให้สร้างแคลลัส จุดถูกทำลาย ทำให้โป่งพองเป็นปม • หากรุนแรงเกิดการหักโค่น เมื่อมีลม • ชะงักการเจริญเติบโต • เกิดการแตกกิ่งเสียรูปทรง

  19. รูปต้นสักที่โดนทำลายโดยหนอนเจาะกานลำต้นรูปต้นสักที่โดนทำลายโดยหนอนเจาะกานลำต้น ที่มา: สวนป่าทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ถ่ายเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551

  20. การป้องกันและกำจัด • ระยะเต็มวัย ต้นฤดูฝน จะวางไข่ เกษตรกร แผ้วถางวัชพืช ตัดแต่งกิ่ง เผาใบแห้ง • ระยะตัวหนอน พ่นด้วยเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringinesisที่ลำต้น

  21. โดย นางสาวสุมาลี เกิดแก้ว รหัสนักศึกษา 4740285 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วิสุทธิ์ สิทธิฉายา ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2

More Related