1 / 99

Electric Current ไฟฟ้ากระแส

Electric Current ไฟฟ้ากระแส. By : Mr.Taywan Deejaras Satreesamutprakarn School. กระแสไฟฟ้า. กระแสไฟฟ้า คือ กระแสของอนุภาคไฟฟ้า ไอออน หรืออิเล็กตรอน ที่อยู่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า. By : Mr.Taywan Deejaras ; Satreesamutprakarn School.

iram
Download Presentation

Electric Current ไฟฟ้ากระแส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Electric Currentไฟฟ้ากระแส By : Mr.Taywan Deejaras Satreesamutprakarn School

  2. กระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า คือ กระแสของอนุภาคไฟฟ้า ไอออน หรืออิเล็กตรอน ที่อยู่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  3. ขนาดของกระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของประจุไฟฟ้าที่ไหลต่อหนึ่งหน่วยเวลาผ่านพื้นที่หน้าตัดของตัวนำ ในระบบเอสไอ กระแสไฟฟ้า (I) มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ต่อวินาที หรือ แอมแปร์ (A) กระแสไฟฟ้าเฉลี่ย กระแสไฟฟ้าขณะใดๆ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  4. การนำกระแสไฟฟ้า การนำกระแสไฟฟ้าในโลหะ เมื่อเราทำให้ปลายโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้น โดยต่อปลายทั้งสองข้างของโลหะกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่โดยมีความ เร็วเฉลี่ยไม่เท่ากับ 0 เรียกว่าความเร็วลอยเลื่อน (Drift velocity) ดังนั้นการนำไฟฟ้าในโลหะเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน อิสระเคลื่อนที่ A x E By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  5. การนำกระแสไฟฟ้า การนำไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ ถ้าเราต่อขั้วบวกของแบตเตอรี่เข้ากับ ขั้วอาโนด และขั้วลบที่ขั้วแคโทดของหลอดไดโอด และทำให้แคโทดร้อน อิเล็กตรอนบางตัวจะหลุดออกจากแคโทด เป็นอิเล็กตรอนอิสระ สนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะทำให้อิเล็กตรอน อิสระเคลื่อนที่ ไปยังแอโนด จึงทำให้มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ในวงจร ดังนั้นการนำไฟฟ้าในไดโอดเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  6. การนำกระแสไฟฟ้า การนำไฟฟ้าในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของไอออนที่เกิดจากการแตกตัวของกรด เบส หรือ เกลือ ส่งผลให้ ไอออนบวก เคลื่อนที่ไปยังขั้วลบ ไอออนลบ เคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก จึงทำให้มีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ดังนั้นกระแสไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ จึงเกิดจากการเคลื่อนที่ ของทั้งประจุบวก และประจุลบ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  7. การนำกระแสไฟฟ้า การนำกระแสไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส เมื่อเราให้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วมากๆ ทำให้เกิดสนามไฟฟ้า โมเลกุลของแก็ส ในหลอดจะแตกตัว เป็นไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ โดยไอออนบวกจะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้าลบอิเล็กตรอน อิสระ จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้าบวก ดังนั้นจะเห็นว่าการนำไฟฟ้าของหลอดบรรจุแก๊สเกิดจากการเคลื่อนที่ของไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  8. การนำกระแสไฟฟ้า การนำกระแสไฟฟ้าในสารกึ่งตัวนำ ถ้าใส่สนามไฟฟ้าข้าไป หรือ ให้ความร้อนมากพอ Valence Electron สามารถหลุดเป็นอิสระได้ ทำให้เกิดช่องว่างเรียกว่า โฮล ซึ่งมีลักษณะคล้ายประจุไฟฟ้าบวก แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าที่กระทำต่ออิเล็กตรอนอิสระและโฮลจะมีทิศตรงข้ามกัน ทำให้มันเคลื่อนที่ในทิศตรงข้ามกัน โดยเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ตรงข้ามกับสนาม โฮลเคลื่อนที่ทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า ทำให้เกิดการนำไฟฟ้าขึ้น ดังนั้นการนำไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำเกิดจากการเคลื่อนที่ของ โฮล และอิเล็กตรอนอิสระ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  9. การนำกระแสไฟฟ้า การนำกระแสไฟฟ้าในไดโอด กระแสไฟฟ้าจะผ่านไดโอดจาก พี ไป เอ็น เมื่อศักย์ไฟฟ้าที่ พี สูงกว่าที่ เอ็น เรียกว่าไบแอสตรง By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  10. กระแสไฟฟ้าในตัวนำไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าในตัวนำไฟฟ้า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าผ่านภาคตัดขวางของตัวกลาง By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  11. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้า และทิศของกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  12. กระแสไฟฟ้าในโลหะตัวนำ มีทิศตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระซึ่งเรียกว่ากระแสอิเล็กตรอน By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  13. กระแสไฟฟ้าในโลหะ กรณีที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าในโลหะ อิเล็กตรอนอิสระ (Free electron) จะเคลื่อนที่โดยมีทิศทางไม่แน่นอน(random) By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  14. กระแสไฟฟ้าในโลหะ กรณีที่มีกระแสไฟฟ้าในโลหะ อิเล็กตรอนอิสระ (Free electron) จะเคลื่อนที่โดยมีทิศทางที่แน่นอน A By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  15. กระแสไฟฟ้าในโลหะ • อนุภาคไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวนำที่มีพื้นที่หน้าตัดA • n แทนจำนวนอนุภาคที่พาประจุไปต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร n = Q/V =Q/A x • จำนวนอนุภาคที่พาประจุทั้งหมด Q = nAx By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  16. กระแสไฟฟ้าในโลหะ จาก จะได้ นอกจากนี้เราเรียกปริมาณกระแสไฟฟ้าต่อพื้นที่ภาคตัดขวางที่กระแสไฟฟ้าผ่านว่าความหนาแน่นของ กระแสไฟฟ้า (Current density, J ) ดั้งนั้นสามารถเขียนได้ว่า By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  17. โจทย์ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านเส้นลวดหนึ่งในเวลา 8 วินาที พบว่าเกิดกระแสไฟฟ้า 4 A จงหาว่าจำนวนอิเล็กตรอนที่ผ่านไปว่ามีกี่อนุภาค By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  18. โจทย์ ลวดทองแดงมีอิเล็กตรอนอิสระ 1029อนุภาค / m3 มีพื้นที่หน้าตัด 4 mm2ถ้ามีกระแสไหลในตัวนำนี้ขนาด 6 แอมแปร์ จงหาความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนในโลหะนี้ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  19. โจทย์ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเส้นลวดหนึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟ จงหาจำนวนอิเล็กตรอนที่ผ่านพื้นที่ หน้าตัดหนึ่งในช่วงเวลาวินาทีที่ 10 ถึงวินาทีที่ 20 By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  20. สภาพต้านทาน (Resistivity) ความต้านทาน (Resistance) และ กฎของโอห์ม (Ohm’s law) วัสดุบางชนิดโดยเฉพาะโลหะที่อุณหภูมิค่าหนึ่งความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า J แปรผันโดยตรงกับ สนามไฟฟ้าในตัวนำที่ทำให้มีกระแสไฟฟ้าโดยมีค่าคงที่ของการแปรผันตรงเป็น σ ตามสมการ By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  21. สภาพต้านทาน (Resistivity) ความต้านทาน (Resistance) และ กฎของโอห์ม (Ohm’s law) By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  22. หน่วยของความต้านทานในระบบ SI คือ โอห์ม (ohms : ) 1  = 1 V / A • ความต้านทานในตัวนำเกิดขึ้นเนื่องจากการชนกันของอิเล็กตรอนที่เป็นตัวพากระแสไฟฟ้ากับอะตอมที่อยู่กับที่ในตัวนำนั่นเอง By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  23. กฎของโอห์ม (Ohm’s Law) ถ้าอุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนความต่างศักย์ ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของโลหะตัวนำ ต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านมีค่าคงที่ และค่าคงที่นี้เรียกว่า ความต้านทานของโลหะตัวนำนั้น ๆ (R) ในกรณีที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน R By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  24. By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  25. กฎของโอห์ม( Ohm’s Law) Click Here By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  26. สภาพต้านทานและอุณหภูมิสภาพต้านทานและอุณหภูมิ • ภายใต้ขอบเขตอุณหภูมิช่วงหนึ่ง สภาพต้านทานของตัวนำแปรผันตามอุณหภูมิอย่างเป็นเส้นตรง(โดยประมาณ) • oแทนสภาพต้านทานที่อุณหภูมิTo • To นั้น โดยทั่วไปจะใช้ที่ 20° C • แทนสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ-สภาพต้านทาน(temperature coefficient of resistivity) มีหน่วยในระบบ SI เป็นoC-1

  27. การเปลี่ยนแปลงความต้านทานไปตามอุณหภูมิการเปลี่ยนแปลงความต้านทานไปตามอุณหภูมิ • เนื่องจากความต้านทานของตัวนำที่มีพื้นที่หน้าตัดสม่ำเสมอนั้น เป็นสัดส่วนโดยตรงกับสภาพต้านทาน จึงสามารถแสดงผลของอุณหภูมิที่มีต่อความต้านทานได้เป็น

  28. กราฟระหว่างสภาพต้านทานกับอุณหภูมิกราฟระหว่างสภาพต้านทานกับอุณหภูมิ • สำหรับโลหะ สภาพต้านทานเกือบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอุณหภูมิ • ช่วงที่กราฟไม่เป็นเส้นตรงมักเป็นช่วงที่อุณหภูมิต่ำมาก • สภาพต้านทานจะมีค่าเข้าสู่ค่าที่แน่นอนค่าหนึ่งในขณะที่อุณหภูมิเข้าสู่ศูนย์สัมบูรณ์

  29. สภาพต้านทานที่หลงเหลืออยู่สภาพต้านทานที่หลงเหลืออยู่ • ในขณะที่อุณหภูมิลดลงสู่ศูนย์สัมบูรณ์ยังมีสภาพต้านทานเหลืออยู่เพราะอิเล็กตรอนมีการชนกันกับสารแปลกปลอมที่ปนอยู่ในเนื้อโลหะและความไม่สมบูรณ์ในโลหะ • เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สภาพต้านทานได้รับอิทธิพลหลักมาจากการชนระหว่างอิเล็กตรอนกับอะตอมของโลหะนั้นเอง • ซึ่งเป็นช่วงที่กราฟเป็นเส้นตรง

  30. ตัวนำยิ่งยวด(Superconductors) • เป็นสถานะของโลหะและสารประกอบที่ความต้านทานมีค่าเข้าสู่ศูนย์ในขณะที่อุณหภูมิต่ำกว่าค่าที่แน่นอน, TC • TCถูกเรียกว่าอุณหภูมิวิกฤติ(critical temperature) • ตอนที่อุณหภูมิสูงกว่า TC, กราฟเหมือนกับโลหะทั่วไป แต่จะตกลงสู่ศูนย์อย่างทันใดเมื่ออุณหภูมิถึงTC

  31. Resistance and Resistivity, Summary • สภาพต้านทานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของสสาร • ความต้านทานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของวัตถุ • ความต้านทานของวัสดุขึ้นกับรูปร่างและสภาพต้านทาน • ตัวนำอุดมคติ(สมบูรณ์)จะมีความต้านทานเป็นศูนย์ • ฉนวนอุดมคติจะมีความต้านทานเป็นอนันต์

  32. โจทย์ ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 5 โอห์ม ถูกยืดออกอย่างสม่ำเสมอจนมีความยาว 3 เท่าของความยาวเดิม ค่าความต้านทานลวดที่ยืดแล้วเปลี่ยนแปลงอย่างไร By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  33. โจทย์ ลวดตัวนำเส้นหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้น 2 เท่าของเดิม ความต้านทานของลวดตัวนำจะเป็นกี่เท่าของเดิม By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  34. โจทย์ ลวด A ยาวเป็น 2 เท่าของลวด B มีสภาพต้านทานเป็น 3 เท่าของลวด B ถ้าลวด B มีพื้นที่ภาคตัดขวางเป็น 1/4 เท่าของลวด A จงหาอัตราส่วนความต้านทานของลวด A ต่อลวด B By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  35. โจทย์ วัสดุชิ้นหนึ่งมีขนาดกว้าง x ยาว y หนา z มีสภาพต้านทาน ความต้านในระนาบ yz มีค่าเท่าไร By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  36. ตัวต้านทาน

  37. ตัวต้านทาน • องค์ประกอบของวงจรไฟฟ้าส่วนใหญ่ เรียกว่า ตัวต้านทาน • ตัวต้านทานมีหน้าที่ควบคุมระดับของกระแสไฟฟ้าในส่วนของวงจร • ตัวต้านทานอาจจะทำด้วยสารประกอบ หรือเอาลวดมาพันกัน

  38. ความต้านทานจากตัวต้านทานแถบสี(resistor)ความต้านทานจากตัวต้านทานแถบสี(resistor) • บนตัวต้านทานจะมีแถบสีอย่างน้อย 3 แถบ และมากสุด 4 แถบ แถบที่อยู่ชิดปลายด้านใดด้านหนึ่งเป็นแถบที่ 1 และ 2, 3, 4 ตามลำดับ ในการอ่านค่าความต้านทานมีหลักการดังนี้ • แถบที่ 1 บอกเลขตัวแรกของความต้านทาน • แถบที่ 2 บอกเลขตัวที่สองของความต้านทาน • แถบที่ 3 บอกตัวคูณยกกำลังกับเลข 2 ตัวแรก • แถบที่ 4 บอกค่าคลาดเคลื่อน By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  39. แถบสีและตัวเลขที่ใช้กับ 3 แถบแรก แถบสีเงินทอง ดำ น้ำตาลแดงส้ม เหลือง ตัวเลข-2 -1 0 123 4 แถบสีเขียว น้ำเงิน ม่วงเทา ขาว ตัวเลข56 7 8 9 แถบสีและตัวเลขคลาดเคลื่อน ใช้กับแถบที่ 4 แถบสีน้ำตาล แดงทองเงิน ไม่มีสี คลาดเคลื่อน1%2% 5%10% 20% By : Mr.TaywanDeejaras ; Satreesamutprakarn School

  40. ต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรมต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรม • เมื่อตัวต้านทานตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเอาปลายมาต่อปลายเรียกว่าเป็นการต่ออย่างอนุกรม(series )

  41. ต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรมต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรม • การรวมกันของตัวต้านทานอย่างอนุกรม กระแสไฟฟ้าเป็นค่าเดียวกันทุกตัว เพราะปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนผ่านตัวต้านทานตัวหนึ่งจะต้องเคลื่อนที่ผ่านตัวต้านทานตัวถัดไปในช่วงเวลาเดียวกัน

  42. ต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรมต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรม • ความต่างศักย์จะถูกแบ่งไปตามตัวต้านทาน ซึ่งทำให้ผลบวกของความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน เท่ากับความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานทั้งหมดที่ต่ออนุกรมกัน

  43. ต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรมต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรม ศักย์ไฟฟ้าในวงจร

  44. Resistors in Series, count • ศักย์ไฟฟ้าบวกกัน • V = IR1 + IR2 = I (R1+R2) • เป็นไปตามหลักอนุรักษ์พลังงาน • ความต้านทานสมมูลมีผลต่อวงจรไฟฟ้าเช่นเดียวกับความต้านทานเดิมที่ต่อรวมกัน

  45. ความต้านทานสมมูลย์ของการต่ออย่างอนุกรมความต้านทานสมมูลย์ของการต่ออย่างอนุกรม • Req = R1 + R2 + R3 + … • ความต้านทานสมมูลย์ของการต่อตัวต้านทานอย่างอนุกรม เท่ากับผลบวกทางคณิตศาสตร์ของความต้านทานแต่ละตัว และมีค่ามากกว่าความต้านทานของแต่ละตัวเสมอ • หากอุปกรณ์ตัวใดที่อนุกรมกันอยู่ในสภาวะที่ทำให้วงจรเปิด อุปกรณ์ทุกชิ้นในวงจรจะไม่ทำงาน

  46. การต่อตัวต้านทานแบบขนานการต่อตัวต้านทานแบบขนาน • ความต่างศักย์คร่อมความต้านทานแต่ละตัวที่ขนานกันมีค่าเดียวกันเพราะทุกตัวต่อกับขั้วแบตเตอรี่โดยตรงเหมือนกัน

  47. การต่อตัวต้านทานแบบขนานการต่อตัวต้านทานแบบขนาน • กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าที่จุดใดต้องเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุดนั้น • I = I1 + I2 • โดยทั่วไป กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากัน • เป็นไปตามกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า

  48. การต่อตัวต้านทานแบบขนานการต่อตัวต้านทานแบบขนาน

  49. ความต้านทานสมมูลย์เมื่อต่ออย่างขนานความต้านทานสมมูลย์เมื่อต่ออย่างขนาน • หาความต้านทานสมมูลย์ Req ได้จาก • ส่วนกลับของความต้านทานสมมูลย์ของตัวต้านทานที่ต่อขนานกันหลายตัว มีค่าเท่ากับผลบวกทางเลขคณิตของส่วนกลับของความต้านทานแต่ละตัว • ความต้านทานสมมูลย์มีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัว ที่มีค่าน้อยที่สุดในกลุ่มที่นำมาต่อขนานกัน

More Related