490 likes | 844 Views
Financial Liberalization. Financial liberalization. Financial liberalization has been defined as the process by which a particular country moves away from a state of financial repression. Motivation for financial repression.
E N D
Financial liberalization Financial liberalization has been defined as the process by which a particular country moves away from a state of financial repression.
Motivation for financial repression • Inability to raise taxes either due to administrative inefficiencies or political constraints • Government manipulates the financial system to promote its development goals through financial repression
Financial repression yield substantial revenue to the government. • First source : implicit tax on financial intermediation by high revenue requirement rates. • Second source : implicit subsidy ; government benefit by obtaining access to central bank financial at below-market interest rate
Financial repression and Financial liberalization1 • Interest rate ceiling - Used to keep borrowing costs low - Used to ensure bank profitability - Over borrowing Syndrome - Reduced saving • Interest rate deregulation - Attract saving - Increase efficiency of aggregate investment
Financial repression and Financial liberalization2 • Government directed credit - Needed to direct funds to important sectors of the economy - Increase political power - the flow of loanable funds reduced • Eliminate of credit controls - more efficient allocation of credit banks
Financial repression and Financial liberalization3 • High required reserve ratio - Insures liquidity in the banking system - Prevents bank runs and panics - A tax that is unseen by depositors • Reduction of reserve requirement
Financial repression and financial liberalization4 • State ownership of commercial banks. - Domestic banks can not complete with large, rich, foreign banks - Fear of lack of local lending - Short run benefits, long term disasters • Private ownership of banks - Allowing domestic economic agents freedom
Financial repression and financial liberalization5 • Government restrictions on foreign bank ownership and/or non-bank competition. - Fear of foreigners “controlling” financial markets - Foreign owned banks may not be willing to lend to “key” domestic industries • Free entry into the banking sector • Bank autonomy - increase the availability of resource to support - Improve resource allocation
Financial repression and financial liberalization6 • Restrictions on capital flows. - Global “hot money” cause asset bubbles - Foreign exchange rate fluctuation • Liberalization of international capital flows - Capital inflows - Lending boom
Sequencing of Financial Liberalization • Domestic financial liberalization: • interest rate liberalization • elimination of credit controls • develop indirect instruments of monetary control (markets for government bonds) • Capital account: • long term flows (FDI, portfolio) • short-term flows
Capital and Current Account Liberalization1 • Opening the current account first is desirable, followed by gradual opening of the capital account. • Reason: if trade and capital account reforms are implemented simultaneously, net outcome can be an appreciation of real exchange rate due to • slow response of real sector to changes in relative prices in the short run; • relatively faster response of capital flows
Capital and Current Account Liberalization2 • If the domestic financial system is liberalized prior to the removal of capital controls, massive capital inflows occur • Successful liberalization of the trade account requires real depreciation of the domestic currency • On the contrary, real appreciation associated with removal of capital controls
Assumptions and Omissions • The traditional liberalization thesis is based on • the following implicit assumptions / omissions: • • Perfect information • • Perfect competition • • Institutions-free analysis • • No role for stock markets • • Ignores destabilizing effects of capital flows
Combination of • imperfect information, imperfect competition, poor quality of institutions, inefficient stock markets, destabilizing influence of short-term capital flows • could mean that financial liberalization may lead to: • too high real interest rates • macroeconomic instability • asset price bubbles • deterioration of asset quality in bank balance sheets • financial fragility and crisis
1970 : WERNER REPORT “The Snake in the Tunnel ” • European common margine arrangement • Very short term financing (VSTF) Facility • European Monetary Cooperation Fund – EMCF
1978 : European Monetary System : EMS • Exchange rate Mechanism (ERM) • European Currency Unit (ECU) • European Monetary Fund (EMF)
1990 : Maastricht Treaty • Economics and Monetary Union : EMC STATE I - Make the Maastricht Treaty (1993) - Single market (1995) - Exchange rate mechanism : ERM Financial Integration
STATE II - Convergence Criteria - EMI - ECB - ESCB - Executive Board and Council of the European Central Bank (1998)
STAGE III - EURO currency (1998 – 2002) Phase I Periods : 1 JAN 1999 (initial period) Actions : - Irrevocable fixed conversion rate - Dual pricing Results : - ECU basket currencies & ECUS rescission - Non-cash operation
Phase II Periods: 1 JAN 1999 – 31 DEC 2001 (transitional period) Actions : - Monetary Policy - Foreign exchange administrative Results : - Financial switch over - Public debts securities
Phase III Periods : 1 JAN 2002 – 1 JUL 2002 (Final Period) Actions : - EURO Banknotes & Coins - Single System Currency - Complete in Euro Zone Results : Local currency repeal & Euro currency is adopted among member countries.
ตลาดร่วม(Common Market) → การเคลื่อนย้ายทุนอย่างเสรี(Free Movement of Capital) →ตลาดเดียวกัน(Single Market) → การปรับพื้นฐานเศรษฐกิจเข้าหากัน(Convergence in Economies) →สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน(Economic and Monetary Union)
Convergence Criteria - The Commission - European Monetary Institution : EMI 1. Price stability 2. Marginal Propensity of interest rate - Nominal long term interest rate 3. Fiscal policy deregulation 4. Exchange rate stabilization
ผลกระทบที่มีต่อตลาดการเงินและการลงทุนผลกระทบที่มีต่อตลาดการเงินและการลงทุน • ตลาดการเงิน (Money market) -ต้นทุนการกู้ยืมในตลาดทางการเงินของยุโรปจะลดลง จากขนาดของตลาดที่เพิ่มขึ้น และไม่มีการแบ่งแยกตลาดตามสกุลเงินท้องถิ่นอีกต่อไป -อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นของประเทศสมาชิกจะถูกกำหนดจากธนาคารกลางสหภาพยุโรปและถูกใช้เป็นอัตราอ้างอิงในการกำหนดอัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคาร (Interbank Rate)โดยอัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารนี้จะเท่ากันในทุกประเทศสำหรับระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีอย่างไรก็ตาม ส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ยระยะยาวของแต่ละประเทศจะยังคงอยู่ แต่ส่วนต่างดังกล่าวจะมีค่าลดลงเมื่อเทียบกับก่อนหน้าที่มีการใช้เงินยูโร
-อย่างไรก็ตาม อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางยุโรปกำหนดมักไม่มีอิทธิพลโดยตรงต่อตลาดมากนัก โดยอัตราดอกเบี้ยที่มีความสำคัญมากคือ อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารของกลุ่มยูโร (EURIBOR)โดยใช้แทนที่อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารของแต่ละประเทศ เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเฉลี่ยของการระดมทุน และEuro LIBORซึ่งใช้วัดต้นทุนในการระดมทุนของประเทศสมาชิกเช่นกัน -ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นและระยะยาวในกลุ่มประเทศสมาชิกมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากนโยบายการเงินของกลุ่มจะมีพื้นฐานอยู่บนความเคลื่อนไหวของค่าเฉลี่ยของระดับราคาและปริมาณเงินของประเทศในกลุ่ม การใช้นโยบายการเงินเพื่อกระตุ้นหรือลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจจะลดลงและเปลี่ยนมาเป็นการมุ่งเน้นที่การสร้างเสถียรภาพด้านราคาเป็นหลัก เพราะธนาคารกลางของยุโรปจะเป็นกำหนดอัตราดอกเบี้ย นโยบายการเงินของกลุ่มจึงมีความผันผวนเฉลี่ยน้อยกว่านโยบายการเงินในส่วนของแต่ละประเทศดังที่เคยเป็นมา
ตลาดพันธบัตร (Bond Market) ตลาดพันธบัตรของสหภาพยุโรปจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหลักๆ 2 ด้านคือ 1.ตลาดทั้งหมดจะใช้หลักเกณฑ์และข้อกำหนดต่างๆในการออกพันธบัตรเดียวกัน (Harmonization of Market Convention)เพื่อช่วยให้นักลงทุนสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของพันธบัตรได้ทั้งราคาซึ่งมีความโปร่งใสมากขึ้นและสะท้อนถึงพื้นฐานที่แท้จริงได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดข้อผิดพลาดและความคลาดเคลื่อนในการทำธุรกรรม 2.การเปลี่ยนแปลงสกุลเงินของพันธบัตรเก่า(Redenomination)ประเทศสมาชิกทั้งหมดจะเปลี่ยนสกุลเงินของพันธบัตรรัฐบาลจากสกุลเงินประจำชาติของแต่ละประเทศมาเป็นเงินยูโรเหมือนกันหมดในอาทิตย์แรกของเดือนมกราคม และพันธบัตรรัฐบาลที่ออกใหม่ ตั้งแต่ 1 มกราคม 1999 จะต้องออกเป็นสกุลเงินยูโร
ส่วนภาคเอกชนสามารถเลือกได้ว่าจะเปลี่ยนแปลงพันธบัตรของตนเป็นเงินยูโรทันทีหรือถือไว้จนหมออายุ ทั้งนี้พันธบัตรทั้งหมดต้องเปลี่ยนมาเป็นสกุลเงินยูโรอย่างช้าภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2001 อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าตลาดพันธบัตรของสหภาพยุโรปจะรวมตัวเป็นตลาดเดียวกัน แต่ตลาดพันธบัตรของแต่ละประเทศก็ยังคงมีความแตกต่างอยู่ เนื่องมาจากนโยบายทางภาษีอากรของแต่ละประเทศรวมทั้งกฎระเบียบที่แต่ละประเทศกำหนดด้วย
ตลาดหลักทรัพย์ (Equity Market) ในตลาดหลักทรัพย์การใช้เงินสกุลเดียวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาสภาพแวดล้อมของตลาด (Equity market environment) โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นมีดังนี้ 1.นักลงทุนได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้นเพราะความเสี่ยงลดลง (improve the risk reward opportunities) 2.ตลาดหลักทรัพย์มีสภาพคล่องสูงขึ้น เนื่องจากตลาดของทุกประเทศรวมเป็นตลาดเดียว การเคลื่อนย้ายเงินทุนทำได้สะดวกขึ้น 3.กระตุ้นให้ภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะธุรกิจบริการทางการเงิน ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง พัฒนาคุณภาพและเสริมสร้างความมั่นคง เพราะการแข่งขันที่มีมากขึ้นทั้งจากประเทศที่อยู่ในกลุ่มและประเทศภายนอกที่เข้ามาลงทุนในยุโรปมากขึ้น
4.มูลค่าหลักทรัพย์ในตลาดของประเทศสมาชิกเพิ่มสูงกว่าที่เคยเป็นมาตามวัฎจักรเศรษฐกิจ เพราะค่าตอบแทนที่แท้จริงของพันธบัตรมีแนวโน้มลดลงและความเสี่ยงในการลงทุนในหลักทรัพย์ลดลงอันเป็นผลมาจากความมีประสิทธิภาพของการแบ่งแยกการลงทุน (Diversification of Portfolio Investment) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของตลาดที่เกิดขึ้น ประกอบกับความมีเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน สภาพเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง นโยบายที่ชัดเจนแน่นอนและแนวโน้มที่จะพัฒนาตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้นรวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มลดลง ทำให้ตลาดหลักทรัพย์ยุโรปเป็นที่น่าสนใจของนักลงทุนทั่วโลกในการมาลงทุนและระดมทุนโดยมีต้นทุนและความเสี่ยงที่ต่ำ