1 / 36

Adjusting and Collecting Entries

4. Adjusting and Collecting Entries. หลักการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงบัญชี. Annual. 1. 2. Semiannual. 1. 2. 3. 4. Quarter. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. Month. Exh. 4.1. หลักรอบระยะเวลา (Time Period). Not GAAP. Accounting. Accrual Basis Vs. Cash Basis.

hinto
Download Presentation

Adjusting and Collecting Entries

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 4 Adjusting and Collecting Entries

  2. หลักการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงบัญชีหลักการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงบัญชี

  3. Annual 1 2 Semiannual 1 2 3 4 Quarter 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Month Exh. 4.1 หลักรอบระยะเวลา (Time Period)

  4. Not GAAP Accounting Accrual Basis Vs. Cash Basis Accrual Basis รายได้เกิดขึ้นเมื่อ ส่งมอบสินค้าหรือ ให้บริการและค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นเมื่อได้รับสินค้าหรือได้รับบริการ Cash Basis รายได้เกิดขึ้นเมื่อได้รับเงินและค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นเมื่อได้จ่ายเงินไปแล้ว

  5. การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย(Recognizing Revenues and Expenses) • การรับรู้รายได้ เราได้ส่งมอบสินค้า ให้ลูกค้าแล้ว ผมคิดว่าเราควรจะบันทึก รับรู้รายได้ได้แล้วนะ

  6. การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย(Recognizing Revenues and Expenses) • การรับรู้ค่าใช้จ่าย คนงานได้ทำงานให้เราแล้ว อย่างนี้ถือว่าค่าใช้จ่าย ก็เกิดขึ้นแล้วน่ะสิ!!

  7. Summary of Expenses Rent Gasoline Advertising Salaries Utilities and . . . . $1,000 500 2,000 3,000 450 . . . . การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย(Recognizing Revenues and Expenses) • การจับคู่รายได้และค่าใช้จ่าย (Matching) ขณะนี้เราได้รับรู้รายได้แล้ว ผมว่าเราน่าจะดูว่าค่าใช้จ่ายใด ของเราทำให้เกิดรายได้จำนวน ดังกล่าวบ้าง

  8. Exh. 4.4 การปรับปรุงบัญชี รายการปรับปรุงคือการทำให้สินทรัพย์และหนี้สินที่ ปรากฎอยู่ในงบดุลแสดงยอดคงเหลือตามที่ควรจะเป็น เป็นเหตุการณ์ที่มีการแลกเปลี่ยน ผลประโยชน์กันเสร็จสิ้นแล้ว แต่ยังไม่ได้รับหรือจ่ายเงิน และยังไม่ได้บันทึกบัญชี เป็นเหตุการณ์ที่ได้จ่ายหรือได้รับเงินแล้ว และบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ได้รับประโยชน์หรือตอบแทน ไม่เสร็จสมบูรณ์

  9. Liability Expense Debit Adjustment Credit Adjustment ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) พวกเราทำงานให้คุณ เสร็จแล้วครึ่งหนึ่ง ทำไม ยังไม่ยอมจ่ายเงินให้ พวกเราซะที?? ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นภาย ในงวดแต่ว่ายังไม่ได้ ชำระเงินและยังไม่ได้บันทึกบัญชี

  10. pay date 10/1/03 12/1/02 12/31/02 Year end รายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บ.ไทยออยส์ จ่ายเงินเดือนให้คนงานทุกวันสิ้นเดือน แต่ในเดือน ธ.ค. 45 เปิดปัญหา ทำให้ต้องจ่ายเงินในวันที่ 10 ม.ค. 46 เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท Record adjusting journal entry.

  11. รายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่ายรายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บ.ไทยออยส์ จ่ายเงินเดือนให้คนงานทุกวันสิ้นเดือน แต่ในเดือน ธ.ค. 45 เปิดปัญหา ทำให้ต้องจ่ายเงินในวันที่ 10 ม.ค. 46 เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท

  12. รายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่ายรายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บ.ไทยออยส์ จ่ายเงินเดือนให้คนงานทุกวันสิ้นเดือน แต่ในเดือน ธ.ค. 45 เปิดปัญหา ทำให้ต้องจ่ายเงินในวันที่ 10 ม.ค. 46 เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท

  13. รายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่ายรายการปรับปรุงสำหรับค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันมายังสมุดแยกประเภททั่วไป จะพบว่า. . . เงินเดือน เงินเดือนค้างจ่าย 12/26 50,000 12/31 40,000 12/31 40,000

  14. Revenue Asset Debit Adjustment Credit Adjustment รายการปรับปรุงสำหรับรายได้ค้างรับ ได้ครับ , คุณจะจ่ายเงิน ให้ผมเมื่องานเสร็จก็ได้ครับ เป็นรายได้ที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาปัจจุบันแต่กิจการยังไม่ได้ชำระเงินและยังไม่ได้บันทึกบัญชี

  15. รายการปรับปรุงสำหรับรายได้ค้างรับรายการปรับปรุงสำหรับรายได้ค้างรับ สำนักงานสอบบัญชีเก่งกาจ รับงานสอบบัญชีจากลูกค้าโดยตกลงค่าธรรมเนียมฯไว้ 50,000 บาท ณ สิ้นปี สนง.ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบไปแล้ว 60% คิดเป็นเงิน 30,000 บาท กิจการจะเรียกเก็บเงินจากลูกค้าเมื่อตรวจสอบฯ เสร็จเรียบร้อยแล้ว (วันสิ้นรอบบัญชีคือ 31/12/44)

  16. ลูกหนี้ รายได้ค่าบริการ 12/31 30,000 12/31 30,000 รายการปรับปรุงสำหรับรายได้ค้างรับ

  17. รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายล่วงหน้ารายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายล่วงหน้า นี่เป็นเช็คสำหรับค่าเช่า 6 เดือน ของฉัน กิจารได้จ่ายเงินในรอบระยะเวลานี้แล้วแต่ยังได้รับผลประโยชน์ไม่ครบ Expense Asset Unadjusted Balance Credit Adjustment Debit Adjustment

  18. รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายล่วงหน้ารายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ณ วันที่เกิดรายการสามารถเลือกบันทึกได้ 2 กรณี คือ 1. บันทึกเป็นสินทรัพย์ (ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า) 2. บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย

  19. ตัวอย่าง บริษัทเวิล์ดเทรดได้ทำประกันภัยไว้กับทิพยประกันภัยจำกัดระยะเวลา 1 ปีค่าเบี้ยประกัน 12,000 บาทซึ่งจ่ายชำระค่าเบี้ยประกันไปเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 43 กรณีบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย Dr. ค่าเบี้ยประกัน 12,000 Cr. เงินสด 12,000 สิ้นปี.............

  20. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 2 เดือน ค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น 10 เดือน 31 ธ.ค. 28 ก.พ. 1 มี.ค. ปรับปรุงบัญชีสิ้นปี Dr. ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 2,000 Cr. ค่าเบี้ยประกัน 2,000 A EXP

  21. ตัวอย่าง บริษัทเวิล์ดเทรดได้ทำประกันภัยไว้กับทิพยประกันภัยจำกัดระยะเวลา 1 ปีค่าเบี้ยประกัน 12,000 บาทซึ่งจ่ายชำระค่าเบี้ยประกันไปเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 43 กรณีบันทึกเป็นสินทรัพย์ Dr. ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 12,000 Cr. เงินสด 12,000

  22. ค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น 10 เดือน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 2 เดือน 31 ธ.ค. 28 ก.พ. 1 มี.ค. ปรับปรุงบัญชีสิ้นปี Dr. ค่าเบี้ยประกัน 10,000 Cr. ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 10,000 A EXP

  23. Revenue Liability Debit Adjustment Unadjusted Balance Credit Adjustment รายการปรับปรุงรายได้รับล่วงหน้า ซื้อตั๋วเข้าชมทีม Chicago Blue ได้แล้ววันนี้ !!! กิจการได้รับเงินมาแล้วแต่ยังตอบแทนต่อเจ้าของเงินไม่ครบตามจำนวนเงินที่ได้รับ “Go Big Blue”

  24. ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 44 ม. ชิคาโก้ ได้ขายบัตรเข้าชมการแข่งขัน บาสเก็ตบอลได้ทั้งหมด 100 ชุด ซึ่งในหนึ่งชุดสามารถดูได้ 20 นัด ราคาชุดละ 100 บาท กรณีบันทึกเป็นรายได้ Dr. เงินสด 10,000 Cr. รายได้ค่าตั๋วเข้าชม 10,000 สิ้นปี.............

  25. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2545 ทีมของมหาวิทยาลัยได้แข่งไปแล้วทั้งหมด 12 นัด ชนะ 4 แพ้ 8 รายการปรับปรุงจะเป็นอย่างไร??

  26. รายได้เกิดขึ้น 12 นัด รายได้รับล่วงหน้า 8นัด นัดที่ 12 นัดที่ 20 นัดที่ 1 ปรับปรุงบัญชีสิ้นปี Dr. รายได้ค่าเข้าชม 4,000 Cr. รายได้ค่าเข้าชมรับล่วงหน้า 4,000 R L

  27. ตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 44 ม. ชิคาโก ได้ขายบัตรเข้าชมการแข่งขัน บาสเก็ตบอลได้ทั้งหมด 100 ชุด ซึ่งในหนึ่งชุดสามารถดูได้ 20 นัด ราคาชุดละ 100 บาท กรณีบันทึกเป็นหนี้สิน Dr. เงินสด 10,000 Cr. รายได้ค่าตั๋วเข้าชมรับล่วงหน้า 10,000 สิ้นปี.............

  28. รายได้เกิดขึ้น 12 นัด รายได้รับล่วงหน้า 8นัด นัดที่ 12 นัดที่ 20 นัดที่ 1 ปรับปรุงบัญชีสิ้นปี Dr. รายได้ค่าเข้าชมรับล่วงหน้า 6,000 Cr. รายได้ค่าเข้าชม 6,000 R L

  29. Exh. 4.18 ผลกระทบของรายการปรับปรุงที่มีต่องบการเงิน

  30. ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) • หมายถึง ความสึกหรอที่เกิดขึ้นจากการใช้ทรัพย์สินของกิจการ • สาเหตุที่ต้องมีการบันทึกค่าเสื่อมราคา คือ • “เพื่อกระจายค่าใช้จ่ายไปยังแต่ละงวดบัญชีที่ได้รับประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์” • เป็นไปตามหลักการจับคู่รายได้กับค่าใช้จ่าย • เพื่อให้งบการเงินแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินที่ถูกต้อง • การคำนวณค่าเสื่อมราคาจะทำกับทรัพย์สินที่มีการเสื่อมสภาพได้ • ซึ่งมีลักษณะดังนี้ - คาดว่าจะใช้ประโยชน์ได้มากกว่า 1 ปี • - มีอายุการใช้งานจำกัด • - มีไว้เพื่อใช้งานในกิจการ

  31. การคำนวณค่าเสื่อมราคาการคำนวณค่าเสื่อมราคา วิธีเส้นตรง ค่าเสื่อมราคา = ราคาทุน - ราคาซาก อายุการใช้งาน ตัวอย่าง กิจการซื้ออาคารสำนักงาน ราคา 100,000 บาท คาดว่าเมื่อใช้งานได้ 10 ปีแล้วจะขายได้ 20,000 บาท ดังนั้น เมื่อสิ้นปี จะต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา ดังนี้ Dr. ค่าเสื่อมราคา-อาคาร 8,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 8,000

  32. อาคาร ค่าเสื่อมราคา-อาคาร 1/1 100,000 12/31 8,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 12/31 8,000 เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันมายังสมุดแยกประเภทจะได้ข้อมูลดังนี้

  33. การแสดงค่าเสื่อมราคาสะสมในงบดุลการแสดงค่าเสื่อมราคาสะสมในงบดุล • บริษัทวิทวัสอีเลคทริค จำกัด • งบดุล • ณ 31 ธันวาคม 2543 • สินทรัพย์หมุนเวียน • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ • -------------- • -------------- • อาคาร 100,000 • หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 8,000 • อาคารสุทธิ 92,000

  34. หนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้ (Bad debt) หมายถึง กิจการที่มีลูกหนี้การค้า ไม่ว่าจะเป็นจากกิจการขายสินค้า หรือจากสถาบันการเงินต่างๆ ควรต้องทำการประมาณจำนวนเงินที่คาดว่าลูกหนี้จะไม่ชำระคืน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้เพื่อ 1. ให้เป็นไปตามหลักการจับคู่รายได้และค่าใช้จ่าย 2. ให้งบการเงินแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินได้ถูกต้อง

  35. เราจะประมาณจำนวนลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ โดยใช้หลักการประมาณ ซึ่งส่วนใหญ่จะประมาณออกมาเป็นร้อยละ ซึ่งอาจจะเป็นร้อยละของยอดขาย หรือร้อยละของยอดลูกหนี้ หรืออื่นๆ แล้วแต่จะเห็นว่าเหมาะสม ตัวอย่าง กิจการใช้วิธีการประมาณหนี้สงสัยฯ จากยอดลูกหนี้ปลายปี ในอัตรา 5% โดยที่ ปลายปีกิจการมีลูกหนี้ 10,000 บาท การบันทึกรายการหนี้สงสัยจะสูญ เป็นดังนี้ Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 500 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500 A Exp

  36. การแสดงรายการในงบดุล • บริษัทวิทวัสอีเลคทริค จำกัด • งบดุล • ณ 31 ธันวาคม 254 • สินทรัพย์หมุนเวียน • -------------- • -------------- • ลูกหนี้ 20,000 • หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500 • ลูกหนี้สุทธิ 19,500

More Related