130 likes | 555 Views
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น ( Introduction to statistics) รวบรวมโดย ไพรศิลป์ ปินทะนา http://academic.cmri.ac.th/wijai/. สถิติ Statistics & Statistic. ศิริชัย กาญจนวาสี, 2537. ข้อมูลสถิติ (Statistics Data). สถิติศาสตร์ (Statistics). ค่าสถิติ (Statistic). วิชาสถิติ (Statistics).
E N D
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics) รวบรวมโดย ไพรศิลป์ ปินทะนา http://academic.cmri.ac.th/wijai/
สถิติ Statistics & Statistic ศิริชัย กาญจนวาสี, 2537 ข้อมูลสถิติ(Statistics Data) สถิติศาสตร์(Statistics) ค่าสถิติ(Statistic) วิชาสถิติ(Statistics) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
ประเภทของสถิติ สถิติภาคบรรยาย (Descriptive Statistics) เป็นสถิติที่ศึกษาเฉพาะข้อมูลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เมื่อศึกษาลักษณะข้อมูลได้อย่างไร ก็บรรยายลักษณะข้อมูลของกลุ่มที่ศึกษาเท่านั้น สถิติภาคอ้างอิง(Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ศึกษาเฉพาะข้อมูลเพียงบางส่วน ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่มใหญ่ โดยนำผลการวิเคราะห์ที่ได้จากกลุ่มย่อยสรุปอ้างอิงถึงกลุ่มใหญ่ทั้งหมด อ้างอิง ประชากร กลุ่มตัวอย่าง คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
ระเบียบวิธีทางสถิติ (Statistical Method) • การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) • การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) • การนำเสนอข้อมูล (Presentation of data) • การสรุปและแปลความหมายข้อมูล (Conclusion and Interpretation of data)
ข้อมูลสถิติ (Statistics Data) กับการเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) แบบวัดต่าง ๆ รายงานต่าง ๆ ปฐมภูมิ Primary Data ทุติยภูมิ Secondary Data ที่มา เก็บรวบรวมได้ง่ายเนื่องจาก ต้องวัดให้ได้ว่ามีคุณลักษณะอย่างไร วัดปริมาณเป็นตัวเลขได้ ข้อมูลเชิงปริมาณ Quantitative Data ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ Qualitative Data ลักษณะ คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) • การแจกแจงความถี่ (Frequency) • การหาเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละ • การหาสัดส่วน (Proportion) • การหาอัตราส่วน (Ratio) • การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • การหาลักษณะการกระจาย • ของข้อมูล • การประมาณค่า (Estimation) • การทดสอบสมมติฐาน • (Hypothesis Test) • การหาสหสัมพันธ์ (Correlation) • การพยากรณ์ (Forecasting) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การนำเสนอข้อมูล (Presentation of data) • ตารางแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution Table) • การแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ • ฮิสโทแกรม (Histogram) • รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ ((Frequency Polygon) • เส้นโค้งของความถี่ (Frequency Curve) • แผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การวัดตำแหน่ง (Measures of Rank) • เปอร์เซนไทล์ (Percentile) แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 100 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ P1, P2, P3,…,P99 • เดไซล์ (Decile) แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 10 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ D1, D2, D3,…,D9 • ควอไทล์ (Quartile)แบ่งจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน ใช้สัญญลักษณ์ Q1, Q2และ Q3 คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) • ค่าเฉลี่ย (Average or Mean: Me) • ค่ามัธยฐาน (Median: Md) • ค่าฐานนิยม (Mode: Mo) ถ้ามี 2 ค่า เรียกว่า ทวิฐานนิยม (Bimodel) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
แผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างค่ากลาง 3 ประเภท Me=Md=Mo ข้อมูลมีการแจกแจงสมมาตรค่ากลาง 3 ค่าจะมีค่าเท่ากัน Me<Md<Mo Mo<Md<Me ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ซ้าย (เบ้ทางลบ) ข้อมูลมีการแจกแจงเบ้ขวา (เบ้ทางบวก) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การวัดการกระจาย(Measures of Dispersion) • พิสัย (Range: Rg) • พิสัยควอไทล์ (Inter Quartiles Range: IQR) • ความแปรปรวน (Variance) • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) • สัมประสิทธิ์ความแปรผัน (Coefficient of Variation: CV) คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา
การวัด (Measures) การวัดตำแหน่ง (Measures of Rank) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) การวัดการกระจาย(Measures of Dispersion) • PR • DR • QR • Me • Md • Mo • Rg • IQR • Variance • SD • CV คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ ไพรศิลป์ ปินทะนา