1 / 5

AMPS

AMPS. โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์. ความเป็นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์.

henriette
Download Presentation

AMPS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AMPS โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์

  2. ความเป็นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ความเป็นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ อเล็กซานเดอร์เกร แฮม เบล เป็นผู้วางรากฐานระบบโทรศัพท์ไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2419 จนประมาณปี 1983 ระบบเซลลูลาร์เริ่มพัฒนาขึ้นใช้งาน ระบบแรกที่พัฒนามาใช้งานเรียกว่า ระบบ AMPS (Analog Advance Mobile Phone Service) ระบบดังกล่าวส่งสัญญาณไร้สายแบบอะนาล็อก โดยใช้คลื่นความถี่ที่ 824-894 เมกะเฮิร์ทซ์ โดยใช้หลักการแบ่งช่องทางความถี่หรือที่เรียกว่า FDMA - Frequency Division Multiple Access

  3. ระบบโทรศัพท์เซลลูล่าแบบ AMPS ย่อมาจากคำว่า Advanced Mobile Phone Service ซึ่งเป็นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบอนาล็อกยุคแรก ที่เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในทศวรรษ 1980 ระบบ AMPS  เป็นระบบเซลลูล่าร์ที่ส่งข้อมูลแบบอานาล็อกระบบนี้ถูกคิดค้นโดยห้องทดลองเบลล์  (Bell  Labs)  และเริ่มใช้ในประเทศอเมริกาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2525  ระบบเดียวกันนี้ในประเทศอังกฤษเรียกว่า TACS  และในประเทศญี่ปุ่นเรียกว่า  MCS - L1 ระบบนี้พื้นที่ที่ครอบคลุมจะถูกแบ่งเป็นเซลล์ย่อย ๆ แต่ละเซลล์มีรูปร่างหกเหลี่ยมขนาดกว้าง  10  ถึง 20  กิโลเมตรขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณวิทยุที่ถูกแพร่ออกจากเครื่องโทรศัพท์มือถือด้วยความถี่  800 - 900  เมกะเฮิรตซ์ โดยทั่วไปกำลังของโทรศัพท์มือถือมีเพียง  0.6  วัตต์ และเครื่องส่งในรถยนต์มีกำลัง  3  วัตต์ ซึ่งเป็นค่าสูงสุดที่ยอมโดย  FCC (Federal Communications Commission)

  4. ข้อดี – ข้อเสีย ของระบบ AMPS ข้อดี 1. AMPS สามารถให้บริการพร้อมกันทั้ง 2 ระบบ ในเขตพื้นที่เซลล์เดียวกันได้ 2. เครื่องโทรศัพท์ในระบบนี้สามารถใช้ได้ในย่านความถี่ 850 MHz และ 1900MHz 3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการแปลงสัญญาณดิจิตอล ทำให้สามารถใช้งานในคลื่นความถี่เดียวกัน ข้อเสีย 1.การบีบอัดให้เป็นสัญญาณดิจิตอลจาก 56Kbps บีบให้เหลือ 8 Kbps จะทำให้การส่ง สัญญาณช้า 2. ในประเทศไทยยังไม่มีระบบนี้ใช้ 3. ในต่างประเทศระบบนี้ยังไม่มีการใช้แพร่หลายมากนัก

  5. การนำไปใช้งานในเชิงสร้างสรรค์การนำไปใช้งานในเชิงสร้างสรรค์

More Related