1 / 26

การบริหารความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยง. RISK MANAGEMENT. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล. โครงสร้างการทำงาน. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล. ผู้จัดการคุณภาพโรงพยาบาล. คณะกรรมการบริหารและจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาล. ประธานคณะกรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ. ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม

hawa
Download Presentation

การบริหารความเสี่ยง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยง RISK MANAGEMENT

  2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล โครงสร้างการทำงาน คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล ผู้จัดการคุณภาพโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหารและจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาล ประธานคณะกรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม 1. ระบบบริการทางการแพทย์ (PCT) 2. ความปรอดภัยในการใช้ยา(ME) 3. การควบคุมและเฝ้าระวังการติดเชื้อ(IC) 4. จริยธรรมและสิทธิผู้ป่วย (ET) 5. ระบบข้อมูลสาระสนเทศ(IM) 6. โครงสร้างและความปลอดภัย ( ENV ) / เครื่องมือ 7. การพัฒนาบุคลากร ( HRD ) 8. ระบบส่งเสริมสุขภาพ ( HP ) หัวหน้างานในฐานะ ผู้จัดการความเสี่ยงประจำหน่วยงาน ผู้ประสานงานความเสี่ยงประจำหน่วยงาน อนุกรรมการจริยธรรม – สิทธิผู้ป่วย รับเรื่องร้องเรียนและประนีประนอม (ET)

  3. บทบาทหน้าที่ • กำหนดขั้นตอนกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับโรงพยาบาล • ออกแบบฟอร์ม แบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง/เหตุการณ์การไม่พึงประสงค์(incident Report) • พัฒนาระบบการป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยงที่สำคัญ และเกิดบ่อยในหน่วยงาน • ให้ความรู้และสร้างความตระหนักให้เจ้าหน้าที่ทุกคนในหน่วยงาน ในเรื่องการบริหารความเสี่ยง

  4. บทบาทหน้าที่ 5.เก็บรวมรวมและสรุปอุบัติการณ์ความเสี่ยงทั้งหมดในโรงพยาบาล ส่งศูนย์คุณภาพ ( QMR) และผู้อำนวยการ พร้อมทั้งนำเสนอคณะกรรมการบริหาร ทุกเดือน โดยสรุป - เชิงปริมาณ คือ จำนวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือน - เชิงคุณภาพ คือ แยกโปรแกรมความเสี่ยง และระดับความรุ่นแรง 6.ติดตามและประเมินผลการการแก้ไข้ปรับปรุงระบบ พร้อมสรุปรายงานส่งศูนย์คุณภาพ (QMR)และผู้อำนวยการหลังการดำเนินการตามระบบใหม่ภายใน 1 เดือน 7.ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องการบริหารความเสี่ยงตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการ

  5. เป้าหมาย • เพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันและแก้ไขความเสี่ยง • เพื่อให้ผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ปลอดภัย ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ • เพื่อค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก สร้างระบบเฝ้าระวังที่ไวต่อการดักจับปัญหา

  6. การแบ่งประเภทความเสี่ยงการแบ่งประเภทความเสี่ยง • ความเสี่ยงด้านคลินิก • ด้านกายภาพ • เหตุการณ์พึงสังวร

  7. การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านClinicการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านClinic

  8. การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพ ระดับความรุนแรงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. ความรุนแรงระดับน้อย หมายถึง โอกาสที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือเกิดขึ้นแต่ไม่ทำให้องค์กร, หน่วยงานเสียหายหรือเจ้าหน้าที่ได้รับอันตราย ค่าเสียหายไม่เกิน 10,000 บาท 2. ความรุนแรงระดับปานกลาง หมายถึง มีผลกระทบทำให้เกิดการปฏิบัติงานให้บริการขัดข้องต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 1 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 10,000 – 100,000 บาท

  9. การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพการแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยงด้านกายภาพ 3. ความรุนแรงระดับสูง หมายถึง ทำให้งานเกิดความเสียหาย/เสื่อมเสียชื่อเสียงขององค์กร,หน่วยงาย ไม่สามารถให้บริการหรือปฏิบัติงานได้ต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 7 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 100,000 บาทขึ้นไป

  10. เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ขั้นตอนระบบการจัดการความเสี่ยงในโรงพยาบาลไชยวาน ผู้พบหรือได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ • แก้ไขเบื้องตนทันที • รายงานหัวหน้า • ลงบันทึกเหตุการณ์ประจำวันหรือใบเฝ้าระวัง ผู้ประสานงานความเสี่ยง ประจำหน่วยงานนั้นรวบรวม แจ้งผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์หรือหัวหน้าหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบโดยตรง เป็นเหตุการณ์ที่ไม่พึง ประสงค์จริงหรือไม่ ? ส่งรายงานความเสี่ยงประจำเดือน ไม่ใช่ ยุติเรื่อง B A

  11. (ต่อ) A B เขียนใบรายงานเหตุการณ์ (ใบสีเชมพู)(ใบ IR) แล้วเสนอหัวหน้าเซ็นทราบและให้ความเห็นเพิ่มเติม ส่งเลขา RM ลงทะเบียนรับเรื่อง เลขา RM ส่งใบ IR นี้ให้ผู้จัดการความเสี่ยงประจำโปรแกรม ในคณะกรรมการที่รับผิดชอบ เข้าตรวจสอบเบื้องต้นที่หน่วยงานนั้นโดยเร็ว สรุประดับความรุนแรงและสาเหตุพร้อมทั้งลงความเห็นเพื่อร่วมกันดำเนินการต่อไป สรุปผลการตรวจสอบเบื้องต้น C

  12. (ต่อ) C เป็นเหตุการณ์ NEARMISS ที่สำคัญ ใช่หรือไม่ ? ไม่ใช่ เป็นเหตุการณ์ SENTINEL EVENTS A - F G - I ในใบ IR เสนอผู้อำนวยการเพื่อทราบและ / หรือสั่งการเพิ่มเติมจากที่ผู้จัดการความเสี่ยงได้ลงความเห็นไว้ เพื่อรับมาดำเนินการต่อไป D E

  13. (ต่อ) D E สำเนาใบ IR ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำเนินการให้แล้วเสร็จตามที่ตกลงกันไว้ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว ให้ส่งเอกสารทั้งหมดมาที่ผู้จัดการ ความเสี่ยงในคณะกรรมการที่รับผิดชอบเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความครบถ้วนของมาตรการ ฯ ผลการตรวจสอบ ไม่เห็นชอบ ส่งหน่วยงานแก้ไข เห็นชอบ สรุปปิด CASE นี้ ลงชื่อผู้จัดการความเสี่ยง ฯ ทั้งในใบ IR และมาตรการ ฯ G F

  14. F G เลขา RM ประธาน RM ตรวจสอบอีกชั้น ไม่เห็นชอบ เห็นชอบและลงชื่อ นำเสนอผู้อำนวยการพิจารณาอนุมัติใช้มาตรการ ฯ เลขา RM สำเนาให้คณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตัวจริงเก็บเข้าแฟ้มแยกรายคณะกรรมการ

  15. ความเสี่ยงที่สำคัญของโรงพยาบาลความเสี่ยงที่สำคัญของโรงพยาบาล • ตกเลือดหลังคลอด • เกิด Hypoglycemia ขณะนอนโรงพยาบาล • ใส่ ETT ลงท้อง • เจ้าหน้าที่ถูกของมีคมทิ่มตำ • เจ้าหน้าที่ติด TB

  16. สรุปความเสี่ยงปีงบประมาณ 2553 จำนวนทั้งสิ้น 385 เรื่อง / 1,222 ครั้ง แบ่งเป็นดังนี้ 1. PCT 119 เรื่อง 205 ครั้ง 2. ME 52 เรื่อง 202 ครั้ง 3. IC 41 เรื่อง 148 ครั้ง 4. ET 3 เรื่อง 5 ครั้ง

  17. สรุปความเสี่ยงปีงบประมาณ 2553 • IM 110 เรื่อง 297 ครั้ง • ENV 20 เรื่อง 24 ครั้ง • เครื่องมือ 28 เรื่อง 317 ครั้ง • HRD 9 เรื่อง 19 ครั้ง • ET 3 เรื่อง 5 ครั้ง

  18. สรุปความเสี่ยง ต.ค.53 – มิ.ย. 54จำนวนทั้งสิ้น 353 เรื่อง 717 ครั้ง แบ่งเป็นดังนี้

  19. สรุปความเสี่ยง ต.ค.53 – มิ.ย. 54

  20. ตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำคัญ

  21. กราฟแสดงร้อยละ PPH (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) 8.2 4

  22. กราฟแสดงจำนวน Hypoglycemia ขณะนอนโรงพยาบาล (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) ปีงบประมาณ

  23. กราฟแสดงจำนวน Case ใส่ ETT ลงท้อง (ต.ค. 53 –มิ.ย.54)

  24. กราฟแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่ถูกของมีคมทิ่มตำ (ต.ค. 53 –มิ.ย.54)

  25. กราฟแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่ติดวัณโรคปอด (ต.ค. 53 –มิ.ย.54) ปีงบประมาณ

  26. สวัสดี

More Related