1 / 25

ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน ( anaerobic digestion)

ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน ( anaerobic digestion). สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้ ลดขนาดถังหมักมีผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพมีเปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนสูง เหมาะกับการติดตั้งร่วมกับระบบที่มีอยู่แล้ว

halla-hobbs
Download Presentation

ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน ( anaerobic digestion)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อดีของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion) • สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้ • ลดขนาดถังหมักมีผลให้ประหยัดค่าใช้จ่าย • อัตราการเกิดก๊าซชีวภาพมีเปอร์เซ็นต์ของก๊าซมีเทนสูง • เหมาะกับการติดตั้งร่วมกับระบบที่มีอยู่แล้ว • ลดองค์ประกอบของไนโตรเจนของน้ำเสียที่ออกจากระบบ • ลดเวลาในการย่อยสลาย โดยที่จุลินทรีย์ยังสามารถทำงานได้ในอัตราสูง

  2. ข้อเสียของการย่อยสลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนแบบสองขั้นตอน (anaerobic digestion) • ต้องการควบคุมโดยผู้ชำนาญการ (need for skill operator) • ต้องมีอุปกรณ์เพิ่มขึ้นเพื่อใช้สำหรับตรวจสอบ ติดตามและควบคุม (Additional instrument for monitoring and control)

  3. การลดปริมาณ COD

  4. การลดปริมาณของแข็งทั้งหมด(total solid,TS)

  5. การลดปริมาณของแข็งระเหยทั้งหมด(total volatile solids,TVS)

  6. การลดปริมาณของแข็งแขวนลอย (suspended solids,SS)

  7. ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตก๊าซมีเทนกับ (ภายใต้สภาวะการทดลอง)

  8. ค่าเฉลี่ยความสัมพันธ์ระหว่างค่า HRT และ OLR กับปริมาณก๊าซชีวภาพทั้งหมดที่เกิดขึ้นและประสิทธิภาพการกำจัดค่า COD

  9. เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมาเปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา ประสิทธิภาพของระบบ เครื่องกรองไร้ออกซิเจน:ขึ้นอยู่กับปริมาณการยึดเกาะของจุลินทรีย์กับพื้นผิวตัวกลาง ถังหมักไร้ออกซิเจนแบบ 2 ขั้นตอน: ไม่มีปัญหาการยืดเกาะ

  10. เปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมาเปรียบเทียบผลการทดลองที่ได้กับการศึกษาที่ผ่านมา

More Related