1 / 16

STATE TRANSITIONS DIAGRAM

STATE TRANSITIONS DIAGRAM. สัญลักษณ์ State. • แทนด้วย สี่เหลี่ยมมุมมน • ระบุชื่อของ State ลงในสี่เหลี่ยม • เช่น การเขียน State Idle. Idle. สัญลักษณ์ การเปลี่ยนสถานะ ( Transition ). • แทนด้วย ลูกศร • ลากจาก State เริ่มต้นไปยัง State ที่ต้องการ

Download Presentation

STATE TRANSITIONS DIAGRAM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. STATE TRANSITIONS DIAGRAM

  2. สัญลักษณ์ State •แทนด้วย สี่เหลี่ยมมุมมน • ระบุชื่อของ State ลงในสี่เหลี่ยม • เช่น การเขียน State Idle Idle

  3. สัญลักษณ์ การเปลี่ยนสถานะ ( Transition ) • แทนด้วย ลูกศร • ลากจาก State เริ่มต้นไปยัง State ที่ต้องการ • ใส่ชื่อ Transition บนลูกศร มีรูปแบบคือ Condition คือ เงื่อนไขในการเข้าหรือออกจาก state Action คือ กิจกรรมที่ทำระหว่างการเปลี่ยน state

  4. สัญลักษณ์จุดเริ่มต้น • จุดเริ่มต้นของกิจกรรมต่างๆ ใน state diagram เรียกว่า initial state • แทนด้วยวงกรมทึบ

  5. สัญลักษณ์จุดสิ้นสุด • จุดสิ้นสุดของกิจกรรมทั้งหมด เรียกว่า End state • แทนด้วยวงกลมใส ล้อมรอบวงกลมทึบ

  6. หลักการในการเขียน “STATE DIAGRAM” จาก State ที่มีอยู่ให้เขียน State Diagram ของแต่ละ Function • จาก Class Diagram ให้ดูว่ามี State Diagram  • กี่ตัวที่ต้องเขียนไม่จำเป็นที่จะต้องเขียน State Diagram • ของทุก Function ทุก Class Diagram ในบาง • Function ที่ไม่ได้มีกิจกรรมที่ซับซ้อนมากมาย ก็ไม่จำเป็นต้อง • มี State Diagram • ในแต่ละ Class ให้พิจารณาว่าจะมี State อะไรบ้าง โดยยังไม่ต้องคำนึงว่ามี Function อะไรอยู่บ้าง หากพบว่ามี State ใดที่จะต้องเพิ่ม ให้เพิ่มเข้าไป เพื่อทำให้ State Diagram สมบูรณ์ขึ้น ทำข้อ 3 และ 4 จนกว่าจะได้ State Diagram ของ 1 Class ที่สมบูรณ์ ทำจนครบทุกๆClass ใน Class Diagram

  7. 1 State ที่ควรจะมีของ Class Computer คือ Off       (เครื่องปิด) On               (เครื่องเปิด) Boot            (เครื่องกำลังเริ่มทำงาน) Ready         (เครื่องพร้อมทำงาน) Reading        (อ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ) Sending       (ส่งคำสั่งที่อ่านได้ไปยัง CPU) ตัวอย่าง การเขียน State Diagram ของ Function ต่างๆ ของ Class “Computer”

  8. 2 State ที่ควรจะมีของ Class Computer คือ Decoding (ถอดรหัสคำสั่งโดย CPU) Executing (ประมวลผลคำสั่งโดย CPU) Buffering (เก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยความจำชั่วคราว เพื่อรอการประมวลผลเสร็จสิ้น) Output (การแสดง Output ออกทางอุปกรณ์แสดงผลต่างๆ) Storing Data (การเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยความจำ) ตัวอย่าง การเขียน State Diagram ของ Function ต่างๆ ของ Class “Computer”

  9. การทำงานของ State Diagram ของแต่ละ Function Turn On (เปิดเครื่อง)

  10. 1 • การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มต้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน • State Off ได้รับการเปิด (Switch is turned on) • จึงทำให้คอมพิวเตอร์เปลี่ยนไปอยู่ที่ State On • และเมื่อเปิดเครื่องเสร็จเรียบร้อย การ Boot จึงเกิดขึ้น • จนทำให้คอมพิวเตอร์มาอยู่ที่ State Boot • และเมื่อ Boot เสร็จเรียบร้อยแล้ว • เครื่องคอมพิวเตอร์จึงมาอยู่ใน State Ready • ซึ่งรอรับคำสั่งและพร้อมจะทำงานต่อไป Turn On (เปิดเครื่อง)

  11. การทำงานของ State Diagram ของแต่ละ Function Turn Off (ปิดเครื่อง)

  12. 1 • ในการปิดเครื่องคอมพิวเตอร์คือ การเปลี่ยน State • จาก Ready ซึ่งไม่มีการทำงานใดๆ ไปยัง State Off • ซึ่งการจะเปลี่ยน State เช่นนี้ได้ต้องใช้ Transition • การปิดเครื่อง (Switch is turned off) Shut Down (ปิดเครื่อง)

  13. การทำงานของ State Diagram Read Instruction (อ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ)

  14. 1 • ในการอ่านคำสั่งใดๆ จากหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์นั้น • จะเริ่มต้นใน State Ready ก่อน • เมื่อมีคำสั่งเข้ามาในหน่วยความจำแล้วตาม Transition Instruction Coming • คอมพิวเตอร์จะเริ่มเข้าไปยัง State reading • ซึ่งจะอ่านคำสั่งจาก Memory ทีละคำสั่งไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น • (Reading Complete) ซึ่งเมื่ออ่านเสร็จแล้ว • คอมพิวเตอร์จะส่งคำสั่งที่อ่านได้ไปยัง CPU ดังระบุไว้ใน State Sending • คอมพิวเตอร์จะวนอยู่ใน State นี้จนกว่าจะเสร็จสิ้น จึงกลับเข้าไปยัง State Ready Read Instruction (อ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ)

  15. การทำงานของ State Diagram Decode (การถอดรหัสคำสั่ง)

  16. 1 • ในการถอดรหัสคำสั่ง โดยไม่ต้องมีเงื่อนไขใดๆ คอมพิวเตอร์จะ • เปลี่ยนจากสถานะ Ready มายังสถานะ Decoding • Decoding ซึ่งใน State นี้ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถอดรหัส • คำสั่งทีละคำสั่งจนกว่าจะหมด • เมื่อการถอดรหัสเสร็จสิ้นแล้ว (Decoding Complete) • จึงกลับไปอยู่ในสถานะ Ready เพื่อรอคำสั่งใหม่ต่อไป Decode (การถอดรหัสคำสั่ง)

More Related