1.13k likes | 2.6k Views
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร. การประยุกต์ใช้แนวทาง TPM กับอุตสาหกรรม ในประเทศไทย. บ รรยายโดย ผศ. สุวิทย์ บุณยวานิชกุล. TPM. ...เส้นทา งสู่… ความเป็นผู้ผลิตระดับโลก. Plantwide Losses (16 losses). เครื่องจักร : 1. เสียก่อนกำหนด 2. ปรับแต่งและปรับตั้ง
E N D
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร การประยุกต์ใช้แนวทาง TPMกับอุตสาหกรรม ในประเทศไทย บรรยายโดย ผศ. สุวิทย์ บุณยวานิชกุล
TPM ...เส้นทางสู่… ความเป็นผู้ผลิตระดับโลก
Plantwide Losses (16 losses) เครื่องจักร : 1. เสียก่อนกำหนด 2. ปรับแต่งและปรับตั้ง 3. เดินตัวเปล่า และหยุดสั้น ๆ 4. ความเร็วตก 5. เกิดของเสีย 6. ผลผลิตลดช่วงเริ่มต้นงาน 7. เปลี่ยนชิ้นส่วนก่อนกำหนด 8. ซ่อมตามกำหนด วัสดุ : ใช้วัสดุไม่ได้ตามกำหนด คน : 1. บริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ 2. การเคลื่อนไหวที่ไม่ได้งาน 3. โครงสร้างที่ไร้ประสิทธิภาพ 4. แผนไม่สอดคล้องกับความต้องการ 5. ความผิดพลาดจากการวัดและปรับแต่ง พลังงาน : ใช้พลังงานด้อยประสิทธิภาพ การใช้ประโยชน์ : ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไม่คุ้มค่า
TPM Goals ….. • Zero Unplanned Downtime • Zero Defeets • Zero Speed Losses • Zero Accident • Miminum Life Cycle Cost
TPM เป็นการเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมในการทำงานของคน Old Attitude “I operate,You fix” “I fix, you design” “I design,You operate” TPM Attitude “Weare all responsibelity for ourequipment”
TPM เป็นการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณค่า (VAM) • ปรับปรุงเครื่องจักร คน และระบบ • เน้นต้นทุน • อนุรักษ์นิยม • คุณภาพ กำหนดส่งมอบ ผลิตภาพ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์
T Total - Efficiency (OEE) - System (LCC) - Participation (Employee) Productive or Perfect Maintenance including Management p m
TPM คือ... • Total Productive Maintenance • Total Productive Manufacturing • Total Productive Management
TPM พัฒนาเครื่องจักร พัฒนาคน สร้างวัฒนธรรมใหม่ ในการทำงานขององค์กร กลยุทธ์ในการดำเนินการ TPM
Quality In-process defeets 40%, 10% No. of complaints 0, 1/9 Productivity OEE 97%, 92% Productivity 2.2 times 1.7 times No. of Breakdowns 1/20, 1/50 Costs Streaming expense 50%, 30% Energy expense 1/2 Maintenance expense 60%, 40% Delivery Inventory turnover 1.3 times stock 60%, 50% No. of delay days 0 Safety Accident Zero Morale No. of improvement proposals 30 times, 5 times Results of TPM Activity
การสูญเสียยิ่งใหญ่ 6 ประการ ในการทำงานของเครื่องจักร 1. เครื่องเสีย 2. การปรับตั้ง ปรับแต่ง 3. เครื่องเดินตัวเปล่า หยุดสั้น ๆ 4. ความเร็วตกลง 5. เกิดของเสีย ซ่อมของเสีย 6. ผลผลิตลดลงในช่วงเริ่มต้น
1. เครื่องเสีย 2. ปรับตั้ง ปรับแต่ง เวลาทำการ เวลาทำงาน 3. เดินตัวเปล่า หยุดสั้น ๆ เวลาทำงานสุทธิ 4. ความเร็วตก เวลาทำงานที่ ได้งานจริง 5. ของเสีย 6. ผลผลิตลดในช่วงเริ่มต้น เครื่องจักร
ความพร้อมของเครื่องจักร = (A : availability)
อัตราสมรรถนะของเครื่องจักรอัตราสมรรถนะของเครื่องจักร (P : Performance rate) = อัตราทำงาน (Time Rate) = อัตราความเร็ว (Speed Rate) =
อัตราของดี (Q : good quality rate) =
ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร (OEE : Overall equipment effectiveness) A X P X Q =
World Class Manufacturing OEE > 85 % นั้น คือ A 90% P 95% Q 99% OEE = .90 x 095 x .99 x 100 = 85%
การสูญเสียในเครื่องจักรการสูญเสียในเครื่องจักร การเสื่อมสภาพ สิ่งผิดปกติเล็ก ๆ น้อยๆ ขาดการสังเกตหรือ ละเลย การสูญเสียแฝงเร้น (Chronic Losses) การสูญเสียที่ชัดแจ้ง (Sporadic Losses) ประสิทธิภาพโดยรวม ของเครื่องต่ำลง
ทำจุดบกพร่องที่ซ่อนเร้นอยู่ให้ปรากฎออกมาทำจุดบกพร่องที่ซ่อนเร้นอยู่ให้ปรากฎออกมา เครื่องจักรขัดข้อง - ขยะ ฝุ่น รอยเปื้อน - หลวม หลุด อุดตัน - รั่วซึม กัดกร่อน สนิม - บิดเบี้ยว ร้าว แตกหัก สั่น - ร้อนจัด เย็นจัด เสียงดัง …. ฯลฯ สิ่งผิดปกติ
เสาหลัก 8 ประการของ TPM 1. การให้การศึกษาและฝึกอบรม (Ed&T) 2. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) 3. การปรับปรุงงาน (SI) 4. การบำรุงรักษาตามแผน (Pl.M) 5. การจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (Safety & Envir.) 6. การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Q.M) 7. การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (I.C, EEM) 8. การเพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมสนับสนุน (Eft. Admin)
การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (IC, EEM) การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (QM) การให้การศึกษาและฝึกอบรม (Ed & T) ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (S & Envir.) การบำรุงรักษาตามแผน (Planned M.) การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (SI) Effective Administration การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM)
Pillar no.1 Education and Training • ให้เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องนำมาใช้ปฏิบัติงาน • เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ได้ • สิ่งที่เรียนรู้แล้วต้องนำมาปฏิบัติทันที • พัฒนาทั้ง Knowledge และ Skill
TPM ต้องการ….. 1. ผู้ “รู้” ในระดับที่ 5 2. ผู้ “รู้” ในระดับที่ 5 ที่รอบรู้ 3. Classroom, OJT, Relay……. Self development
Pillar no.2 การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance) หลักการ :เปลี่ยนความคิดของคนเกี่ยวกับงานและเครื่องจักร เพื่อสร้างสถานที่ทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง สะดวกสบาย ถูกสุขลักษณะ
เป้าหมายของการบำรุงรักษาด้วยตนเองเป้าหมายของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง • ป้องกันการเสื่อมสภาพของเครื่องจักร • รักษาสภาพของเครื่องจักร • ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักรให้ดีขึ้น • x-function group
ประเด็นเพื่อความสำเร็จของ AM ดำเนินกิจกรรม AM อย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง ร่วมกับ Ed & T, SI, Planned M. อย่างสอดคล้องกลมกลืน
7. พัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น 6. การจัดการสถานที่ทำงานโดยรอบ 5. ปรับปรุงมาตรฐานและทำการตรวจเช็คด้วยตนเอง 4. ทำการตรวจเช็คโดยรวม 3. จัดทำมาตรฐานเบื้องต้น 2. ขจัดสาเหตุของ “ความสกปรก” 1. การทำความสะอาดเบื้องต้น 7 ขั้นตอนในการทำการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
ฝ่ายบำรุงรักษา 20~25% งานใหม่ - ปรับปรุงเครื่องจักร - MP - Re-design - Training - Pre. M - Overhual etc. พนักงานฝ่ายผลิต - การบำรุงรักษาประจำวัน - การทำความสะอาด - การปรับแต่ง - การตรวจเช็ค - การหล่อลื่น ภารกิจงานบำรุงรักษาที่เปลี่ยนไป
Pillar no.3 การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Specific Improvement) • Cross fuction project teams • Maximizing production Effectiveness • Why-why analysis • P-M analysis
SI AM
การปรับปรุงเทคโนโลยีและความชำนาญการปรับปรุงเทคโนโลยีและความชำนาญ ในการบำรุงรักษา การปรับปรุงเครื่องจักร • ความชำนาญงานเฉพาะด้าน • ความชำนาญในการซ่อมแซม • ความชำนาญในการตรวจเช็คและวัดค่าต่าง ๆ • เทคนิคการวินิจฉัยอาการเครื่องจักร • เทคโนโลยีการบำรุงรักษาใหม่ ๆ • สนับสนุนการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) • 6 ขั้นตอนการบำรุงรักษาตามแผน • Corrective Maintenance • Maintenance Prevention • Predictive Maintenance กิจกรรมของการบำรุงรักษาตามแผน
6 ขั้นตอนในการสร้างระบบการบำรุงรักษาตามแผน 1. ประเมินผลเครื่องจักรและสภาวะปัจจุบัน 2. ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักรและแก้ไขข้อบกพร่อง 3. สร้างระบบการจัดการข้อมูล (IMS) 4. สร้างระบบการบำรุงรักษาตามคาบเวลา 5. สร้างระบบการบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ 6. ประเมินผลระบบการบำรุงรักษาตามแผน
Pillar no.5 การจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม • fool-proof, fail safe • ตรวจสอบความปลอดภัย • มาตรฐาน • อุปกรณ์
Pillar no.6 การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
Pillar no.7 การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (Initial control, Initial management, Early Equipment management) ควบคุม :เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์
Equipment L.C.C. x x Equipment Life
Pillar No.8 การเพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมสนับสนุน (Effective Administration)
1. การประกาศเจตนารมย์ของผู้บริหารระดับสูง ประเด็นที่ควรพิจารณา : • การเอาจริงเอาจังของผู้บริหารระดับสูง • การให้เวลาและงบประมาณในการดำเนินการ • จุดมุ่งหมาย (ลดต้นทุน, พนักงานที่กระฉับกระเฉง…….) • เป้าหมาย
2. การให้การศึกษาอบรมและการรณรงค์ • ผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง หัวหน้างาน พนักงานปฏิบัติการ • แนวทางการให้ความรู้ • อบรมในห้องเรียน • ทัศนศึกษา • Model Equipment, Model Line • การรณรงค์ • Banners, posters, Catch phease
3. การจัดโครงสร้าง • Overlapping small group organization • TPM promotion steering committee • TPM promotion office • - TPM facilitator • Working group for 8 pillars
4. กำหนดนโยบายและเป้าหมาย • Basic policy • Targets
5. จัดทำ TPM Master Plan • Where you are ? • What you want to become ? • How to implement TPM technique to achieve targets ?
6. Kick off • TPM Kick off meeting Meeting Program • การประกาศเจตนารมณ์โดยผู้บริหารระดับสูง • การจัดองค์กรส่งเสริม TPM • ตัวอย่างผลได้จากการทำ TPM • นิทรรศการ poster, catch, phrases, เครื่องจักรตัวอย่าง, • model lines..
ข้อพึงปฏิบัติในการดำเนินงาน TPM • ให้ทุกคน ทุกระดับได้รับการฝึกอบรม • มีส่วนร่วมในกิจกรรม • ให้อิสระในระดับที่เหมาะสม • สนับสนุนและบันทึกประวัติ (รับรู้) • กำหนดเป้าหมายที่เหมาะสม
ข้อที่ต้องละเว้น • ลืมการประชาสัมพันธ์ • Part time champion • ไม่ฝึกอบรม facilitators • ไม่ฝึกอบรมกลุ่ม • ละเลยบทบาทและคำมั่นสัญญา • ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร
ข้อควรระวังของกลุ่มย่อยข้อควรระวังของกลุ่มย่อย - ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน - กลุ่มย่อยไม่ใช่สำหรับใครก็ได้ - ความไว้วางใจได้เป็นสิ่งสำคัญมาก - “คน” สำคัญที่สุด - ต้องการเวลาในการดำเนินงาน
มาตรฐานของกลุ่มย่อย (1) • โครงสร้าง • - หัวหน้ากลุ่ม, สมาชิกกลุ่ม • - x-function team • - แนวทางปฏิบัติ • - เวลาในการประชุมกลุ่ม • - สถานที่สำหรับการประชุม
มาตรฐานของกลุ่มย่อย (2) • พฤติกรรม • - ทุกคนต้องเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง • - มีบันทึกการประชุมทุกครั้ง • - เริ่มและเลิกตรงเวลา • - ผลได้และความก้าวหน้าของกิจกรรมต้องแสดงให้ชัดเจน • - ตัดสินใจด้วยกลุ่ม