1 / 28

การสัมมนา “ CMU Beyond 50 Years” วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553 อัลไพน์กอล์ฟ รีสอร์ท-เชียงใหม่

ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11. ดร. อำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี. การสัมมนา “ CMU Beyond 50 Years” วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553 อัลไพน์กอล์ฟ รีสอร์ท-เชียงใหม่. ทางสายกลาง. ความพอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี. ความรู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง.

emery
Download Presentation

การสัมมนา “ CMU Beyond 50 Years” วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553 อัลไพน์กอล์ฟ รีสอร์ท-เชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ดร. อำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี การสัมมนา “CMU Beyond 50 Years” วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553 อัลไพน์กอล์ฟ รีสอร์ท-เชียงใหม่

  2. ทางสายกลาง • ความพอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี • ความรู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง • คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต • ความเพียร ความอดทน มีสติ

  3. หลักเศรษฐกิจพอเพียง...........หลักเศรษฐกิจพอเพียง........... คุณธรรม ความรอบรู้ ความเพียร มีภูมิคุ้มกัน “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”

  4. การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก กฎ กติกาใหม่ของโลกในการบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจและสังคมโลก เช่น การค้าและการลงทุน ด้านการเงิน สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลางรวมทั้งเอเชีย การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกก่อให้เกิดความเสียหายหลายด้าน ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานจะเป็นปัญหาสำคัญในอนาคต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม การก่อการร้ายสากลเป็นภัยคุกคามประชาคมโลก

  5. ภาพรวมเศรษฐกิจปี 2540 - 2552 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโต เฉลี่ยร้อยละ 4.0 GDP(Nominal Term) เพิ่มขึ้นประมาณ 1 เท่าตัว ภายในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา คาดการณ์ว่าในปี 2553 GDP(Nominal Term) จะมีมูลค่าประมาณ 10 ล้านล้านบาทโดยมีอัตราการเจริญเติบโตไม่ต่ำกว่าร้อยละ 7.5

  6. การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ภาคการเงินเข้มแข็ง การคลังขาดสมดุล ภาคเกษตรต้นทุนสูง ขาดแคลนพื้นที่และแรงงาน อุตสาหกรรมพึ่งต่างประเทศ บริการและท่องเที่ยวมีโอกาส ด้านสังคม เปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ สังคมเครือญาติสู่ปัจเจก วัฒนธรรมไทยเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมต่างชาติ ระดับการศึกษาและสุขภาพดีขึ้น CSR เพิ่มขึ้น แต่ IQ EQ ของเด็ก ผลิตภาพแรงงาน และความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหา กลุ่มชนชั้นกลางยังมีสัดส่วนน้อย ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม รุนแรง ภาวะโลกร้อนกระทบต่อการเกษตร ยากจนและย้ายถิ่น การบุกรุกป่าเพิ่มขึ้น พึ่งพลังงานจากต่างประเทศ ภาค พื้นที่ และชุมชน กรุงเทพฯ และภาคกลางมีบทบาทสูง การเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเมืองเร็วขึ้น การกระจายอำนาจส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น ความมั่นคงของประเทศ ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ต้องรักษาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน

  7. ความเสี่ยงของประเทศไทยความเสี่ยงของประเทศไทย กระบวนการบริหารภาครัฐอ่อนแอ พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2551

  8. ความเสี่ยงของประเทศไทยความเสี่ยงของประเทศไทย โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

  9. ความเสี่ยงของประเทศไทยความเสี่ยงของประเทศไทย โครงสร้างประชากรไม่สมดุล 2030 2010 2020 6 :1 4 :1 3 :1

  10. ความเสี่ยงของประเทศไทยความเสี่ยงของประเทศไทย การเสื่อมสลายของค่านิยมของไทย

  11. ความเสี่ยงของประเทศไทยความเสี่ยงของประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงในฐานทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ

  12. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ ยึดระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

  13. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ ยึดภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความมั่นคงด้านอาหารของสังคมชนบท

  14. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ ยึดการพัฒนาประเทศบนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย

  15. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม

  16. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถเชื่อมโยงกับสังคมสวัสดิการ

  17. ภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศภูมิคุ้มกันที่จำเป็นต่อประเทศ ประเทศไทยมีความเป็นเอกราช เป็นกลางและเป็นพันธมิตรในเวทีระหว่างประเทศ

  18. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีเสถียรภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีเสถียรภาพ • (Secured Growth)........... Road Connectivity Railway Connectivity GMS Railway 2015 GMS Road Transport 2015 Sea Port IT Fiber to the X (FTTX) QR-Code

  19. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สมดุล • (Balanced Growth) ........... Tourism – Natural Resources Content Industry Local Product Tourism - Historical WWW.NESDB.GO.TH 5

  20. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีความเท่าเทียมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีความเท่าเทียม • (Quality Growth)........... Middle Income Class Participatory Process บัญชีเงินฝากเกิน 1 ล้าน เท่ากับ 2%ของทั้งหมด แต่คิดเป็น 70%ของเงินฝากรวม Skill Labor Income Equality – Women/Handicap

  21. หลักเศรษฐกิจพอเพียง...........หลักเศรษฐกิจพอเพียง........... คุณธรรม ความรอบรู้ ความเพียร มีภูมิคุ้มกัน “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”

  22. ทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 • เป็น"แผนยุทธศาสตร์“ที่ยึดวิสัยทัศน์ปี 2570น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง • วิเคราะห์บริบทการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมทั้งความเสี่ยงที่ต้องเผชิญ นำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันในอีก 5 ปีข้างหน้า • ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งในการสร้างความ เข้าใจร่วมกัน การร่วมคิด และร่วมขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ 2 NESDB

  23. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 1 การสร้างความเป็นธรรมในสังคม • สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสังคม • จัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ • เสริมสร้างพลังให้ทุกคนสามารถเพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในสังคม • เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้แน่นแฟ้นเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน 1 การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน • ส่งเสริมคนไทยให้มีการเกิดที่มีคุณภาพ มีการกระจายที่สอดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพื้นที่ • พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต • ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต • เสริมสร้างค่านิยมที่ดีและวัฒนธรรมไทยที่ดี 2 4 NESDB

  24. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา การสร้างความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน • พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรและสร้างมูลค่า • สร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร • สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน 3 การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการสร้างปัจจัยแวดล้อม • พัฒนาการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร • พัฒนาภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ สินค้าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การค้าและการลงทุน • พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ • ปฏิรูปกฎหมายเศรษฐกิจ และกฎ ระเบียบต่างๆ ให้เอื้อประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจอย่างเป็นธรรม 4 5 NESDB

  25. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา การสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค • สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และสร้างความเข้มแข็งของภาคีพัฒนาตั้งแต่ระดับชุมชน • สนับสนุนการเปิดการค้าเสรีและวางแนวทางป้องกันผลเสียที่จะเกิดขึ้น • สร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจด้าน HR การเคลื่อนย้ายละการส่งเสริมแรงงานไทย • เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรม 5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและพฤติกรรมการบริโภคสู่สังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของภาคการผลิต และบริการเพื่อนำไปสู่สังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การยกระดับขีดความสามารถในการปรับตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 6 6 NESDB

  26. การบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สู่การปฏิบัติ บทบาทภาคีการพัฒนา กำหนดบทบาทของภาคีการพัฒนาแต่ละภาคส่วนให้ชัดเจน บทบาทของแต่ละภาคีต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกันในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาภายใต้แผนฯ 11 สู่การปฏิบัติ • ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิป ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • ภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ • การพัฒนาประเทศให้อยู่บนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย • สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม • ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ • ประเทศไทยมีความเป็นเอกราช เป็นกลาง และเป็นพันธมิตรในเวทีระหว่างประเทศ แนวทางการขับเคลื่อนแผนฯ สร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของแผนฯ ให้เกิดการยอมรับ และผสมผสานและสอดแทรกไว้ในแผนปฏิบัติการต่างๆ การบูรณาการงาน พัฒนาในลักษณะองค์รวม จัดทำระบบการติดตามประเมินผลและสร้างตัวชี้วัดการพัฒนาที่สามารถนำไปใช้กำกับ การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการขับเคลื่อน ถ่ายทอดทิศทาง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ของแผนฯ 11 และตัวชี้วัดความสำเร็จ ลงสู่แผนระดับต่างๆ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในแผนฯ 11 ผ่านยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ บทบาทภาคีการพัฒนา พัฒนาบทบาทให้สามารถขับเคลื่อนแผนฯ 11 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำเนินงานภายใต้บทบาทภาคีการพัฒนา 8 NESDB

  27. กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ส.ค. 51 – ส.ค.52 ก.ย. 52 – ก.ย. 53 ต.ค. 53 – มิ.ย. 54 ก.ค. – ก.ย. 2554 ร่างกรอบวิสัยทัศน์ และทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 การจัดทำร่างทิศทางการพัฒนาของแผนฯ 11 ยกร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 อนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 Phase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4 Phase 1 Phase 2 Phase 3 Phase 4 Activity ปรับปรุงร่างแผนฯ 11 นำเสนอคณะ กก.สศช.(ก.ค. 54) • ศึกษาวิจัยเฉพาะด้าน • ประชุมประจำปี 51“วิสัยทัศน์ ประเทศไทย…สู่ปี 2570” • ยกร่างรายละเอียดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 เสนอร่างแผนฯ 11 ให้ ครม. พิจารณาโดยส่งให้ สภาที่ปรึกษาฯ พิจารณาก่อน (ส.ค. 54) • ระดมความเห็น 4 ภาค • ประชุมประจำปี 52 “จากวิสัยทัศน์…สู่แผนฯ 11” • ประชุมระดมความคิดเห็น ระดับชุมชน/ ภาค และผู้ทรง • เสนอร่างทิศทางแผนฯ 11 ต่อ กก.สศช. (12 ก.ค. 53) คณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมัติ (ก.ย. 54) ร่างกรอบวิสัยทัศน์ 2570 และแนวคิดทิศทางแผนฯ 11 ทิศทางและประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Output จัดประชุมประจำปี 53 “ทิศทางของแผนฯ 11” (6 สค 53) จัดประชุมประจำปี 54 “ร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11” (มิ.ย.54) เสนอทิศทางและประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนฯ 11 ต่อ ค.ร.ม.(ต.ค. 53) ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) (1 ตุลาคม 2554) 12 NESDB

  28. ขอบคุณ

More Related