870 likes | 2.74k Views
หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan). หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ( Mathematics Curriculum of Japan ). นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เสนอ
E N D
หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น(Mathematics Curriculum of Japan)
หลักสูตรการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น(Mathematics Curriculum of Japan) นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เสนอ อาจารย์ศรีจันทร์ ทานะขันธ์ อาจารย์สุนทร ไชยชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
หน้าหลักระบบและทิศทางการศึกษาในประเทศญี่ปุ่นการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น- มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับโรงเรียนชั้นประถมศึกษา-มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับโรงเรียน มัธยมต้น- เกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมปลาย- รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์แต่ละช่วงชั้น
ระบบทิศทางและการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น(The system trend and task of Mathematics Education in Japan)
สรุประบบการศึกษา ( The outline of Educational system )- ตั้งแต่การปฏิรูปการศึกษาหลังสงครามโลกครั้งที่สองประเทศญี่ปุ่นได้นำเอาระบบโรงเรียน 6 – 3 – 3 – 4 มาใช้- การศึกษาภาคบังคับ 9 ปีสำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 6 ขวบจนถึง 15 ปีประกอบด้วยชั้นประถมศึกษา 6 ปี ( ป.1 –ป.6 ) และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอีก 3 ปี ( ม.1 –ม.3 ) อัตราการลงทะเบียนของนักเรียนทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นในการศึกษาภาคบังคับนี้และเป็นที่สำคัญนักเรียนทั้งหมดทุกคนจะได้เรียนหลักสูตรเดียวกัน- ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรและวิชาเรียนจะมีความหลากหลายมากกว่าเดิม- ในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมตอนปลายมีการแบ่งแยกการศึกษาออกเป็นประเภทๆอย่างกว้างขวางและมีการแบ่งการศึกษาเป็นพิเศษๆออกไปตามแต่ละหลักสูตร- สำหรับหลักสูตรเฉพาะทางนั้นได้แบ่งแยกออกเป็นการพาณิชย์การอุตสาหกรรมการกสิกรรมการประมงภาษาอังกฤษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์- ทางโรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนเป็นการเรียนภาคปกติการเรียนภาคค่ำการเรียนทางไปรษณีย์- สำหรับวิทยาลัยเทคนิคนั้นจะแบ่งแยกกันระหว่างการศึกษาระดับมัธยมปลายและการศึกษาระดับสูงเป็นเวลา 5 ปี- สำหรับการศึกษาขั้นสูงจะมีมหาวิทยาลัยวิทยาลัยขนาดเล็กวิทยาลัยเทคนิคและสถาบันชั้นสูงที่จัดตั้งโดยกระทรวงอื่นๆนอกเหนือจากกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงวิทยาศาสตร์กระทรวงวัฒนธรรม
หลักสูตรในปัจจุบัน ( The current curriculums ) จุดประสงค์และลักษณะที่สำคัญของการเรียนหลักสูตรใหม่ ( Aim and characteristics of the new courses of studies ) จุดประสงค์( Aim ) บนพื้นฐานในการปฏิบัติอย่างสมบูรณ์แบบของโรงเรียนทั้ง 5 วันแต่ละโรงเรียนควรพัฒนาความโดดเด่นทางการศึกษาภายในขอบเขตของการทำงานที่ทำให้เป็น“ห้องเรียนเพื่อความเติบโต” ( room to grow ) และขณะที่การทำให้แน่ใจโดยผ่านการรับเอาเด็กด้วยสื่อประกอบพื้นฐานแห่งการเรียนรู้ออกจากหลักสูตรการเรียนและการคิดอย่างอิสระ
ลักษณะของหลักสูตร ( characteristics ) - การแบ่งชั้นที่หลักสูตรต้องการองค์ประกอบเล็กๆของวิชาเรียน - สร้างความแข็งแกร่งของการเรียนที่ชี้นำไปสู่ความถนัดทางเฉพาะตัวของนักเรียน - การสร้างการเรียนการสอนที่รวบรวมการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์ - ขยายหลักการโดยอนุญาตให้โรงเรียนสามารถตกแต่งแก้ไขหลักสูตรได้ - ลดชั่วโมงการสอที่เข้มงวดกับการเลือกเรียนตามความพอใจ - เน้นย้ำเกี่ยวกับประสบการณ์การแก้ไขปัญหากิจกรรมการเรียนการสอน - ขยายตัวเลือกทางการเรียน - สร้างความแข็งแกร่งด้วยการประเมินด้วยข้อมูลการอ้างอิง
วิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นประถมศึกษาวิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นประถมศึกษา วิชาเรียนและชั่วโมงเรียนมาตรฐานสำหรับชั้นมัธยมต้น
การควบคุมหลักสูตร การอนุมัติหนังสือเรียน หลักสูตรการเรียน หลักสูตรวิชาเรียน (ขั้นวางแผน) อนุมัติให้หนังสือเรียน (ขั้นปฏิบัติงาน) (ขั้นประเมินผล) การวางแผนการเรียน การปฏิบัติงาน - การประเมินผล
แบบเรียนของประเทศญี่ปุ่นแบบเรียนของประเทศญี่ปุ่น (Japanese Lesson study) - แบบเรียนเป็นเครื่องมือที่สำคัญเพื่อการปรับปรุงบทเรียนเป็นการวางรากฐานของหลักการของ”การวางแผนทำรับรู้” ( Plan – DO – See ) และการพัฒนาภายในหลักการศึกษาของญี่ปุ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลจากการวิจัยของครูเพื่อนร่วมงานการสอนในห้องเรียนการอภิปรายการสอนของพวกเขาและติดตามผลการอภิปรายเพื่อเป็นแนวทางในการประชุมการเรียนการสอนต่อไป - ในชนิดของการสะสมข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอนในระดับชั้นเรียนช่วยยกระดับการศึกษาให้ดีขึ้นอย่างไม่ต้องสงสัยว่าแบบเรียนทำไมจึงดึงดูดความสนใจของคนทั่วโลก
การศึกษาคณิตศาสตร์ของญี่ปุ่นในปัจจุบัน ( Mathematics education Today in Japan ) - ในปีค.ศ. 1977 ได้มีการแก้ไขหลักสูตรที่ถูกใช้ไปแล้วการให้ความสำคัญส่วนใหญ่ไปที่การเตรียมการศึกษาด้วยห้องเรียนเพื่อความเติบโต ( room to grow ) ในหลักสูตรนี้ได้ลดองค์ประกอบของคณิตศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นลงตามที่ได้มีการลดชั่วโมงเรียนลง - หลักสูตรที่ปรับปรุงแล้วถูกตอบรับด้วยดีจากทางโรงเรียนทั่วไปดูได้จากบรรยากาศการเรียนในโรงเรียนผ่อนคลายมากขึ้นในขณะที่คนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์เห็นการแก้ไขดั่งเป็นความสามารถพื้นฐานและการสอนทักษะการคิดคำนวณ - ในทางกลับกันทิศทางของการวิจัยกับการศึกษาคณิตศาสตร์มีทิศทางไปด้วยความเอาใจใส่ต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความสนุกสนานกับการรวมยอดการพัฒนาของการคิดเชิงคณิตศาสตร์ - ในปีค.ศ.1989 หลักสูตรฉบับปรับปรุงได้ให้ความสำคัญในการนำศีลธรรมทางคณิตศาสตร์มาช่วยพัฒนาการศึกษาของจิตใจขณะที่ปีค.ศ. 2002 หลักสูตรฉบับปรับปรุงได้ให้ความสำคัญกับความสนุกสนานด้วยการคิดเชิงคณิตศาสตร์รวมทั้งวัตถุประสงค์ไว้ด้วยเป้าหมายของความเข้าใจต่อการเรียนคณิตศาสตร์ที่ทำให้เด็กๆมีความสามารถที่จะเรียนด้วยกับตัวพวกเขาเองและคิดด้วยตัวพวกเขาเอง คลิก กลับสู่หน้าหลัก
การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่นการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในประเทศญี่ปุ่น บทนำ เราควรจะคิดว่าหลักสูตรแต่ละหลักสูตรการเปรียบเทียบกันแต่ละหลักสูตรโดยการทดลองทำจริงเราจะค้นหาความแตกต่างท่ามกลางพวกเขาและแต่ละงานซึ่งได้รับการพิจารณาลงไปมากเกี่ยวกับหลักสูตรใหม่ของประเทศญี่ปุ่น มาตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่สำหรับโรงเรียนชั้นประถมศึกษา ( New Mathematics Curriculum Standards for Elementary School ) - ประกาศโดยกระทรวงภาษาและการศึกษาของญี่ปุ่น 1.จุดประสงค์สำคัญ การทำความรู้บนพื้นฐานของนักเรียนและความเชี่ยวชาญชำนาญโดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะของคณิตศาสตร์กับตัวเลขและปริมาณและแผนภาพและยิ่งไปกว่านั้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถที่เป็นในทางตรรกศาสตร์มีเหตุมีผลการคาดคะเนล่วงหน้าและการนำไปใช้ประโยชน์การสังเกตรู้คุณค่าความสำคัญของคณิตศาสตร์
2.เป้าหมายและความพอใจของแต่ละชั้น2.เป้าหมายและความพอใจของแต่ละชั้น ชั้นที่หนึ่ง (1st) จุดประสงค์ 1. ให้นักเรียนมีไหวพริบเกี่ยวกับจำนวนนับโดยใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นรูปธรรมและอื่นๆสามารถที่จะเข้าใจความหมายจำนวนนับตัวเลขความหมายของการบวกการลบให้สามารถคิด คำนวณได้ 2. ให้มีพื้นฐานและประสบการณ์ในเรื่องปริมาณและการวัดและมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับจำนวนและปริมาณ 3. ให้มีพื้นฐานและประสบการณ์เพื่อเข้าใจเกี่ยวกับแผนภาพผ่านกิจกรรมการใช้อุปกรณ์เครื่องมือ ที่เป็นไปในรูปธรรมมีไหวพริบที่เกี่ยวกับ Diagram
เนื้อหาสาระ ตัวเลขและการคำนวณ 1. ให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของตัวเลขโดยสามารถที่จะเปรียบเทียบจำนวนตัวเลขโดยการกระทำ - การที่นับและแสดงตัวเลขได้อย่างถูกต้องแน่นอน - การกระทำซึ่งเป็นอนุกรมและแสดงตัวเลขได้อย่างมีเหตุผล - มองตัวเลขสิ่งที่ผ่านมากับตัวเลขอื่นๆเป็นการเพิ่มหรือลดและอื่นๆ - มีความเข้าใจความหมายเกี่ยวกับตัวเลข 1 – 100 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของการเพิ่มและการลบบวกลบตัวเลขได้ - รู้ถึงกรณีที่ใช้ในการลบและการเพิ่มการแสดงที่ออกมาเป็นสูตร - การเพิ่มมีเหตุผลระหว่าหนึ่งตัวเลขและการลบการบวกสามารถที่จะคำนวณได้อย่างแน่ นอน 3. สามารถนับสิ่งต่างๆได้เพื่อแสดงออกมาได้อย่างมีระเบียบ
ปริมาณและการวัด ให้นักเรียนมีประสบการณ์และพื้นฐานและความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและปริมาณ และการวัดเบื้องต้นที่เปรียบเทียบกันกิจกรรมการวัดความยาวอุปกรณ์เครื่องมือ - เปรียบเทียบความยาวโดยตรง - มีเหตุผลหนึ่งความยาวของวัตถุเป็นต่อหน่วยและการเปรียบเทียบความยาว แผนภูมิ ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบนพื้นฐานของความเข้าใจโดยกิจกรรมการสังเกตและการประดิษฐ์สังเกตเห็นรูปร่างของวัตถุและการจับจุดของรูปต่างๆ - การเปรียบเทียบได้อย่างถูกต้องการแสดงตำแหน่งจุดและอุปกรณ์ภาษาศาสตร์
ชั้นที่สอง (2nd) จุดประสงค์ 1. ให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถเข้าใจเกี่ยวกับความเท่ากันความหมายของการเพิ่มและการลดลงและเข้าใจความหมของการคูณและสามารถหาวิธีคิดคำนวณได้ 2. นักเรียนเข้าใจในหน่วยของความยาวและการวัดและปริมาณ 3. มีประสบการณ์พื้นฐานและเข้าใจในแผนภาพ เนื้อหาสาระ จำนวนและการคำนวณ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจความหมายของตัวเลขและวิธีแสดงและการพัฒนาความสามารถนับจำนวนได้ - เข้าใจในการนับ - เข้าใจเกี่ยวกับเลขสี่หลัก - เข้าใจที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขการจัดเรียงตัวเลขง่ายๆเข้ากลุ่มเดียวกันได้ 2.เข้าใจความหมายของการบวกและการลบและสามารถนำไปใช้ได้ - ความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มและการลบ - ความเข้าใจในการคำนวณมีพื้นฐานในการคำนวณได้อย่างมั่นใจ - ให้มีเหตุมีผลในการหารวิธีการคำนวณ 3.ให้มีความเข้าใจในความหมายของการคูณและสามารถนำไปใช้ได้ - รู้หลักในการคูณและสามารถแสดงเป็นสูตรได้ - คุณสมบัติง่ายๆของการคูณเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับการคูณ - การสามารถที่จะคูณตัวเลขได้
ปริมาณและการวัด 1. เข้าใจในความหมายของความยาวสามารถที่จะวัดความยาวสิ่งของตัวอย่างง่ายๆได้ - เข้าใจในความหมายของหน่วยการวัด - รู้หน่วยของความยาวมิลลิเมตร ( mm. ) เซนติเมตร ( cm. ) เมตร ( m. ) - สามารถที่จะอ่านเวลาบอกเวลาในชีวิตประจำวันได้ แผนภูมิ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานรูปร่างของรูปเรขาคณิตเบื้องต้นเส้นตรงสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยมสามารถวาดรูปได้
ชั้นที่สาม 3rd จุดประสงค์ ( Aim ) 1. ทำให้นักเรียนใช้การบวกการลบได้อย่างเหมาะสมและยิ่งไปกว่านั้นทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของการคูณและนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของหน่วยปริมาณน้ำหนักเวลาและหน่วยของการวัด 3. มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายในเรื่องแผนภาพเบื้องต้นและพื้นฐานของแผนภาพ 4. ทำให้นักเรียนสามารถที่จะแสดงข้อมูลตามเนื้อหาที่จัดเรียงไว้หรือเป็นกราฟเข้าใจในการนำไปใช้เนื้อหาสาระ
ตัวเลขและการคำนวณ 1. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับตัวเลขและพัฒนาความสามารถที่จะใช้ตัวเลขได้ - รู้หน่วยของ 10000 เลขห้าหลัก - รู้ขนาดของตัวเลขที่หารด้วย 10 ลงตัวและวิธีแสดงมัน ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับความเข้าใจของขนาดที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขจำนวน 2.ทำให้นักเรียนคำนวณการบวกการลบได้อย่างแน่นอนและพัฒนาความสามารถของพวกเขาตามจุดประสงค์ - มีเหตุผลความคิดคำนวณการเพิ่มและการลบของตัวเลขสามหลักโดยอาศัยพื้นฐานจากตัวเลขสองหลัก - การเพิ่มที่กำลังคำนวณและการลบอย่างแน่นอนและให้ได้ตามจุดประสงค์ - มีคุณสมบัติตรวจสอบอย่างรอบคอบในการเพิ่มและการลบประกอบด้วยกันและคำนวณอย่างมีเหตุผล 3. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการคูณและยิ่งกว่านั้นเพื่อการคำนวณได้อย่างแน่นอนและพัฒนาความสามารถของพวกเขาได้อย่างเหมาะสม - มีเหตุผลและวิธีการคิดคำนวณเลขสองหลักสามหลักที่คูณด้วยเลขหนึ่งหลักสองหลักคูณด้วยสองหลักตามความเข้าใจของการคำนวณโดยอาศัยสูตรคูณ - สามารถคูณได้อย่างเหมาะสม - มีความรอบคอบรู้ถึงสมบัติของการคูณและการกระทำของการคูณอย่างมีเหตุผล 4. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจความหมายของการหารและนำไปใช้ได้ - รู้กรณีที่ใช้ในการหารและเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและเศษเหลือ - เข้าใจความสัมพันธ์การหารการคูณหรือการหักออก - การหารที่คำนวณทั้งสองหนึ่งตัวหารและผลหารหนึ่งผลหารได้อย่างมั่นใจ 5. ทำให้นักเรียนมีความชำนาญที่จะแสดงตัวเลขในลูกคิดและคำนวณการเพิ่มการลบอย่างง่ายวิธีแสดงตัวเลขวิธีแสดงตัวเลขในลูกคิดการคำนวณการเพิ่มการลบโดยการใช้ลูกคิด
ปริมาณและการวัด 1. ให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของความยาวปริมาณน้ำหนักและบนกรณีง่ายดายสามารถที่จะวัดค่าของเหล่านี้ - รู้หน่วยของความยาวกิโลเมตร (Km) - เข้าใจในความหมายของหน่วยของการวัดเกี่ยวกับปริมาณและน้ำหนัก - มีความหน่วยของปริมาณลิตร( l) - มีความรู้หน่วยของน้ำหนักกรัม (g) 2. เพื่อทำให้นักเรียนสามารถประมาณคาดคะเนในความยาวและนักเรียนสามารถทำการวัดค่ามันและเลือกหน่วยได้ตามความเหมาะสม 3. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องของเวลา - รู้ในเรื่องของเวลาวันเวลาชั่วโมงนาทีวินาทีและความสัมพันธ์ของเวลา - ตัวอย่างง่ายๆของเวลาและความจำเป็นของเรื่องเวลา แผนภูมิ 1. นักเรียนมีความสังเกตถึงกิจกรรมรูปร่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างแผนภาพเข้าใจในพื้นฐานของแผนภาพ - ทรงสี่เหลี่ยมรูปทรงสร้างส่วนของแผนภาพ - เป้าหมายของแผนภาพสร้างจัตุรัสสี่เหลี่ยมมุมฉากสามเหลี่ยมการวาดสิ่งเหล่านี้ ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเขและเกี่ยวกับปริมาณ 1. ทำให้นักเรียนแสดงข้อมูลในเนื้อหาหรือกราฟง่ายๆและอ่านข้อมูลกราฟง่ายๆได้ - ข้อมูลของการจัดการเข้ากลุ่ม - อ่านและวาดกราฟได้
ชั้นที่สี่ 4th จุดมุ่งหมาย ( Aim ) 1. ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการหารและใช้มันได้รวมทั้งเกี่ยวกับความเข้าใจของความหมาย 2. ให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องความหมายของพื้นที่และสามารถหาค่าของพื้นที่จากแผนภาพอย่างง่ายได้และยิ่งกว่านั้นเพื่อทำให้พวกเขาเข้าใจความหมายในเรื่องขนาดของมุม 3. มีเป้าหมายถึงการการสร้างส่วนประกอบเข้าใจบนพื้นฐานนของแผนภาพ 4. ทำให้นักเรียนแสดงให้เห็นพิจารณาของตัวเลขและปริมาณหรือความสัมพันธ์ต่างๆโดยการใช้สูตรและกราฟและยิ่งกว่านั้นให้ผู้เรียนพบความสัมพันธ์ตามจุดประสงค์
เนื้อหา จำนวนและการคำนวณ 1. ให้นักเรียนมีความเข้าใจของจำนวนเต็ม - หน่วยสิบร้อยพันหมื่นแสนล้านและเข้าใจเกี่ยวกับเลขจำนวน 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจตัวเลขที่เป็นวงกลมกรณีที่ใช้เป็นวงกลม 3. ทำให้เข้าใจเกี่ยวกับการหารจำนวนเต็มและนักเรียนสามารถคำนวณได้อย่างแน่นอนและยิ่งไปกว่านั้นเพื่อพัฒนาความสามารถของพวกเขา - เหตุผลเกี่ยวกับการหารแบ่งแยกที่สิ่งนั้นมีตัวหารเป็นหนึ่งตำแหน่งหรือสองตำแหน่งและเงินปันผลเป็น 2 ตำแหน่งหรือ 3 ตำแหน่งโดยอาศัยการคำนวณเป็นพื้นฐาน - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังความสัมพันธ์ท่ามกลาง ( dividend, divisor,quotient ) และเศษเหลืออยู่การรวบรวมสูตรดังต่อไปนี้ ( dividend ) = ( divisor ) * ( quotient ) + ( remainder ) - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังของคุณสมบัติของการหารและมีเหตุผลวิธีการคำนวณและนำไปใช้ประโยชน์ 4. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของตัวเลขทศนิยมและยิ่งไปกว่านั้นเข้าใจความหมายของการเพิ่มและการลบของตัวเลขทศนิยมได้ 5. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจนาความหมายของเศษส่วนและสามารถแสดงออกมาได้ - การใช้เศษส่วนและแสดงทีเหมือนกับการหารและรู้แสดงเศษส่วน - รู้ถึงเศษส่วนสามารถที่จะถูกแสดงเวลาเป็นหน่วยของเศษส่วนได้
ปริมาณและการวัด 1. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของพื้นที่ในกรณีง่ายๆวัดค่าพื้นที่ - หน่วยเกี่ยวกับความเข้าใจและความหมายของการวัดพื้นที่ - รู้หน่วยของพื้นที่ ( cm) - มีเหตุผลและวิธีในการใช้เครื่องมือวัดพื้นที่ของจัตุรัสและสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2. ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องของขนาดของมุมและการวัดค่าของมุม - รู้ขนาดของมุมรอบและเกี่ยวกับความเข้าใจหน่วยของมุมและการวัดมุม - รู้หน่วยของมุม ( ) แผนภูมิ จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้สังเกตวิธีทำของแผนภาพเกี่ยวกับความเข้าใจของพื้นฐานของแผนภาพ - มีเป้าหมายการสร้างส่วนประกอบของสามเหลี่ยมหน้าจั่วสามเหลี่ยมด้านเท่าและยิ่งกว่านั้นการทีพวกเขาสามารถวาดและรู้จักมุม - รู้จักมุมในพื้นฐานของแผนภาพ - รู้จักจุดศูนย์กลาง ( center ) เส้นผ่านศูนย์กลาง ( diameter ) และรัศมีของวงกลมการวาดวงกลมลูกบาศก์เกี่ยวกับวงกลม
ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและปริมาณความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและปริมาณ 1. เพื่อทำให้นักเรียนเห็นความสัมพันธ์ของจำนวนสองจำนวนหรือปริมาณสิ่งที่เปลี่ยนเช่นเดียวกัน - กรณีง่ายๆตัวเลขที่มีเหตุผลหรือปริมาณที่ปะติดปะต่อกันโดยแสดงคำเป็นตาราง - สามารถอ่านกราฟการเปลี่ยนแปลงของกราฟได้ 2. ทำให้นักเรียนแสดงความสัมพันธ์ของตัวเลขหรือปริมาณเป็นสูตอย่างง่ายและการอ่านได้ - สูตรที่ผสมกันเกี่ยวกับความเข้าใจที่ใช้ในการคำนวณได้อย่างแน่นอน - เกี่ยวกับความเข้าใจแนวความคิดในการใช้สูตร 3.ทำให้นักเรียนสามารถที่จะรวบรวมข้อมูลตามจุดประสงค์และกลุ่มการค้นหาและตรวจสอบอย่างระมัดระวังตามรูปแบบ - กรณีที่เกิดขึ้นบนสองสาเหตุ - ตรวจสอบอย่างระมัดระวังเกี่ยวกับข้อมูลและการทับสองครั้งซ้อนของข้อมูล - ตรวจสอบกราฟได้ [ ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์ ] ผลรวม,ความแตกต่าง,ผลคำตอบ,ผลหารจำนวนเต็ม ,จำนวนเชิงเส้น,ทศนิยม,เศษส่วน,เศษส่วนแท้ ,เศษเกิน
ชั้นที่ห้า 5th จุดประสงค์( Aim ) 1.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจความหมายของทศนิยมและเศษส่วนและวิธีแสดงและทำให้พวกเขาเข้าใจความหมายของการคูณและการหารทศนิยมรู้ถึงการคำนวณและใช้ได้อย่างเหมาะสมและทำให้พวกเขาเข้าใจในความหมายของการบวกและการลบของเศษส่วนและรู้วิธีคำนวณรวมถึงวิธีใช้ด้วย 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกขึ้นเกี่ยวกับการวัดพื้นที่และให้สามารถที่จะวัดพื้นที่ของแผนภูมิพื้นฐานได้ 3.พิจารณาถึงโครงสร้างส่วนประกอบและตำแหน่งและความสัมพันธ์ของแผนภูมิเพื่อให้นักเรียนเข้าใจพื้นฐานมากขึ้น 4.ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลสถิติเช่นการใช้เปอร์เซ็นหรือแผนภูมิวงกลมและยิ่งกว่านั้นแสดงตัวเลขและความสัมพันธ์ของสมการและค้นหาความสัมพันธ์ของสมการและค้นสหาความสัมพันธ์ของสมการ เนื้อหาสาระ ตัวเลขและการคำนวณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจในคุณสมบัติของจำนวนเต็ม -สามารถที่จะแยกจำนวนคู่และจำนวนคี่ได้ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงจำนวนเต็มและทศนิยมในระบบจำนวนเต็มและสามารถคำนวณได้อย่างได้ผล สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวเลขเช่น 10 เท่า 100เท่า 1/10 หรือ 1/100
3.ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็มและสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม3.ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็มและสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม -เข้าใจความหมายของการคูณการหารของเลขจำนวนเต็ม -เข้าใจบนพื้นฐานของการคูณการหารจำนวนเต็มและเข้าใจความหมายของการคูณการหารทศนิยม -มีหลักการเกี่ยวกับการคำนวณการคูณการหารของเลขทศนิยมและสามารถที่จะคำนวณได้รวมทั้งเข้าใจถึงเศษเหลือ 4.นอกจากให้นักเรียนเข้าใจในเรื่องเศษส่วนแล้วต้องให้พวกเขาเข้าใจถึงความหมายของการบวกและการลบเศษส่วน -มีเป้าหมายที่แท้จริงเข้าใจเรื่องของเศษส่วนอย่างง่ายได้ -สามารถจัดเรียงจำนวนเต็มและทศนิยมที่เป็นเศษส่วนและเศษส่วนเป็นทศนิยม -เข้าใจถึงผลลัพธ์ของการหารจำนวนเต็มสามารถที่จะแสดงเป็นเศษส่วนได้ -รู้ถึงวีการคำนวณการบวกและการลบของเศษส่วนโดยที่ส่วนนั้นเท่ากันและสามารถคำนวณได้ 5.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งของจำนวนที่ยากขึ้นกว่าเดิม -สามารถทีจะคาดคะเนของผลรวมและผลต่างจำนวนมากๆได้
ปริมาณและการวัด 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจถึงแผนภาพบนแนวระนาบพื้นฐานแลสามารถคำนวณรวมถึงใช้ความรู้เหล่านี้คำนวนหาพื้นที่ได้ -รู้วิธีการวัดหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมด้านขนานและสามารถนำไปใช้ได้ -รู้ถึงวิธีการวัดหาพื้นที่ของวงกลมและสามารถนำไปใช้ได้ แผนภูมิ 1.นักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องแผนภูมิและสามารถสร้างแผนภูมิได้เช่นทำให้นักเรียนมีความเข้าใจพื้นฐานของระนาบของแผนภูมิพิจารณาส่วนประกอบความสัมพันธ์ของแผนภูมิ -เข้าใจความสัมพันธ์ของเส้นขนานและเส้นตั้งฉาก -รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนของวงกลม ความสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขและเกี่ยวกับปริมาณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจถึงคุณสมบัติการบวกการลบการคูณการหาร -ความเข้าใจของกฎและสูตรต่างๆ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของร้อยละ(เปอร์เซ็น) 3.ทำให้กลุ่มของนักเรียนจัดเรียงข้อมูลตามจุดประสงค์และสาสมารถแสดงเป็นแผนภูมิวงกลมและแผนภูมิแท่งได้ 4.เกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่แสดงเป็นสูตรการเปลี่ยนแปลงระหว่างสองตัวเลขและปริมาณเพื่อทำให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ [ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์] ; เส้นขนาน ,ตั้งฉาก, เส้นทแยงมุม ,%
ชั้นที่หก (6th) เป้าหมาย(Aim) 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับความเข้าใจของการบวกและการลบเศษส่วนและทำให้นักเรียนนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมเข้าใจของความหมายของการคูณและการหารเศษส่วน 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของปริมาณและการวัดปริมาณของแผนภูมิอย่างง่ายๆและเข้าใจความหมายของความเร็ว 3.ทำให้นักเรียนพิจารณาของแผนภูมิสร้างความสัมพันธ์เกี่ยวกับความเข้าใจพื้นฐานของรูปสามมิติของแผนภาพ 4.ทำให้นักเรียนเข้าใจความหมายของอัตราส่วนและสามารถใช้ความคิดในความสัมพันธ์ของฟังก์ชันได้ เนื้อหา ตัวเลขและการคำนวณ 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งคุณสมบัติของจำนวนเต็มมากขึ้น -มีความรู้ในเรื่องการวัดการคูณ 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจลึกซึ้งของคุณสมบัติจำนวนเต็มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเข้าใจความหมายของการบวกการลบของเศษส่วนความแตกต่างของตัวหาร -เกี่ยวกับความเข้าใจการคูณการหารเศษส่วนโดยเศษโดยตัวเลขเช่นเดียวกันให้เลขข้างบนของเลขเศษส่วนและตัวหารหนึ่งตัวหารของเศษส่วน -เข้าใจเกี่ยวกับความเท่ากันของเศษส่วนและหาวิธีเปรียบเทียบอย่างมีเหตุผล มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกการลบเศษส่วนอย่างต่ำที่มีความแตกต่างของตัวส่วนและสามารถที่จะคำนวณได้
3.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของการคูณการหารเศษส่วนสามารถที่จะใช้ได้3.ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในความหมายของการคูณการหารเศษส่วนสามารถที่จะใช้ได้ -เข้าใจในความหมายการคูณการหารในกรณีที่เป็นจำนวนเต็ม -บนพื้นฐานของความคิดในการคูณและการหารเลขทศนิยม -เกี่ยวกับความเข้าใจความหมายของการคูณการหารกรณีที่ตัวคูณและตัวหารคือเศษส่วน -มีเหตุผลในการคำนวณคูณและหารสามารถที่จะคำนวณได้ 4.ให้นักเรียนเข้าใจของจำนวนตรงข้ามของจำนวนและมากกว่านั้น ผลการคาดคะเนและผลหารที่เป็นค่า roud number
ปริมาณและการวัด 1.ทำให้นักเรียนเข้าใจการประมาณรูปร่างเกี่ยวกับความใกล้เคียงของแผนภูมิและคำนวณหาพื้นที่วงกลม 2.ทำให้นักเรียนเข้าใจในความหมายของปริมาตรและคำนวณหาปริมาตรบนกรณีง่ายได้ -เข้าใจในความหมายของหน่วยและขนาดที่วัด -เข้าใจในความหมายของหน่วยปริมาตร( Cm) -มีความเข้าใจในกระบวนการวัดของปริมาตรของลูกบาศก์และปริซึมหกด้านที่ขนานของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและการหาปริมาตร 3.จำนวนและปริมาณเป็นสิ่งที่สามารถแบ่งปริมาณในสองปริมาณกับชนิดที่แตกต่างๆเพื่อทำให้เข้าใจในวิธีเปรียบเทียบจำนวนและปริมาณได้ -มีความคิดในการใช้หน่วยของปริมาณ -เข้าใจความหมายของความเร็วและหาความเร็วอย่างง่ายได้ -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนและตัวอย่างง่ายเนื้อหาของกราฟ 3.เข้าใจความหมายของค่าเฉลี่ยและสามารถานำไปใช้ได้
แผนภูมิ 1.นักเรียนสามารถที่จะสังเกตของแผนภูมิและสร้างแผนภูมิเข้าใจพื้นฐานของแผนภูมิส่วนประกอบความสัมพันธ์ของแผนภูมิ -เข้าใจเกี่ยวกับลูกบาศก์สี่เหลี่ยมด้านขนาน -เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเส้นขนาน Parpendicularity บนเส้นตรงความสัมพันธ์ของระนาบสี่เหลี่ยมพื้นผ้าด้านขนาน -มีความรู้ความเข้าใจปริซึมสามเหลี่ยมปริซึมสี่เหลี่ยมและทรงกลม ความสัมพันธ์ของตัวเลขและปริมาณ 1.นักเรียนมีความเข้าใจของอัตราส่วนอย่างง่ายๆได้ 2.เกี่ยวกับสองจำนวนการเปลี่ยนแปลงด้วยกันสามารถที่จะพิจารณาถึงความสัมพันธ์ได้ -เข้าใจความหมายของอัตราส่วนและตัวอย่างง่ายเนื้อหาของกราฟ 3.เข้าใจความหมายของค่าเฉลี่ยและสามารถานำไปใช้ได้ คลิก กลับสู่หน้าหลัก
หลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับมัธยมต้นหลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับมัธยมต้น 1.จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานความคิดเห็นและหลักการเกี่ยวกับแผนภาพและวิธีทำอย่างชำนาญและยิ่งกว่าเพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการคำนวณและสนุกในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 2. จุดประสงค์และเนื้อหาสาระของแต่ละระดับชั้น ชั้นที่ 1 1 . จุดประสงค์ 1.) มีความรู้ความเข้าใจในจำนวนเต็มบวกและเต็มลบซึ่งยังไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมการแต่สามารถแสดงความสำพันธ์ทั่วไปเกี่ยวกับจำนวนได้ 2.) ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจโดยใช้สัญชาติญาณและมีเหตุผลในการสังเกตคำนวณและทดสอบ 3.) มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวังให้นักเรียนเข้าใจและมีเหตุผลอย่างเหมาะสมมีพื้นฐานที่จะแสดงความสำพันธ์ของตัวเองและปริมาณ
2. เนื้อหาจำนวนและกฎ 1.)นักเรียนมีความเข้าใจจำนวนที่เป็นบวกและลบผ่านกิจกรรมของนักเรียนในสถานการณ์จริงและมีความสามารถในการบวกลบคูณหาร 2.)มีความสามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์กฎและอ่านความหมายของสูตรและนำไปใช้ได้ ชั้นที่ 2 1.จุดประสงค์ 1.)นักเรียนสามารถที่จะคำนวนและเปลี่ยนรูปสูตรตามจุดประสงค์ที่ต้องการและเพื่อทำความเข้าใจสมการเชิงเส้นอันดับสองและนำไปใช้ได้ 2.)มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติเกี่ยวกับแผนภาพและระนาบพื้นฐานที่เปลี่ยนไปและเพื่อทำความเข้าใจวิธีการอนุมานเกี่ยวกับแผนภาพสามารถที่จะแสดงกระบวนการสรุปได้ 3.)นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจฟังก์ชันเชิงเส้นความสัมพันธ์และพิจารณาจากการสังเกตุและแก้ปัญหาและให้นักเรียนมีพื้นฐานในการใช้เหตุผลในการสรุปเนื้อหาสาระ
2.เนื้อหาสาระ 1.จำนวนและกฎทฤษฎี 1.)นักเรียนสามารถที่จะพัฒนาค้นหาความสัมพันธ์ของปริมาณใช้สูตรแสดงได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหา - สามารถที่จะคำนวณการบากการลบและการคูณในระดับที่ง่ายขึ้น - มีความเข้าใจและใช้เป็นประโยชน์จารความหมายและความสัมพันธ์ของปริมาณ - เปลี่ยนแปลงสูตรตามสถานการณ์ 2.)นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจสมการเชิงเส้นอันดับสองและนำไปใช้ได้ - เข้าใจและแก้ปัญหาจากสมการเชิงเส้นอันดับสอง 2. แผนภาพ 1.) นักเรียนสามารถสังเกตคำนวณแก้ปัญหาเพื่อค้นหาคุณสมบัติของกราฟแนวระนาบพื้นฐานและเพื่อสามารถหาคุณสมบัติของเส้น - มีความเข้าเกี่ยวกับคุณสมบัติของเส้นขนานมุม - มีความเข้าใจสมบัติของมุมของรูปหลายเหลี่ยมเส้นทแยงมุมของสามเหลี่ยม
2.)นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของแผนภาพสามเหลี่ยม2.)นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติของแผนภาพสามเหลี่ยม - มีความเข้าใจและแสดงวิธีพิสูจน์ได้ - มีความเข้าใจความคล้ายของสามเหลี่ยมและอธิบายสมบัติของสามเหลี่ยมได้ - บอกความสัมพันธ์ระหว่างมุมของเส้นรอบวงมุมศูนย์กลางมุมตรงข้ามมุมภายในมุมภายนอกการพิสูจน์และการให้เหตุผลประกอบ 3. ความสัมพันธ์ของตัวเลขและปริมาณ 1) การเปรียบเทียบปริมาณทำความเข้าใจฟังก์ชันเชิงเส้นและหาความสัมพันธ์ได้ 2)ทำเข้าใจความเป็นไปได้จากการแก้ปัญหา ชั้นที่ 3 1.จุดประสงค์ 1) นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องกรณฑ์ของจำนวน 2) นักเรียนมีความเข้าใจในความคล้ายของแผนภาพและเข้าใจในเหลี่ยมมุมในทฤษฎีปีทาโกรัสโดยการสังเกตการคำนวณการแก้ปัญหาและนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3) เข้าใจในเรื่องของฟังก์ชัน y = ax รู้ความสัมพันธ์ต่างๆของฟังก์ชันนี้ได้
2. เนื้อหาสาระ 1. จำนวนและทฤษฎี 1) ให้นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องกรณฑ์ของจำนวนที่เป็นบวก - เข้าใจความหมายของกรณฑ์ - หาค่ารากที่สองของตัวอย่างที่ง่ายๆได้ 2) เข้าใจเกี่ยวกับสูตรเหล่านี้ ( a - b ) = a –2ab + b ( a + b )( a – b ) = a – b ( x + a )( x + b ) = x + ( a + b )x + ab 3) นักเรียนมีความเข้าใจสมการกำลังสองและนำไปใช้ได้ - มีความรู้ในเรื่องสมการกำลังสองพร้อมหาคำตอบของสมการกำลังสองได้ - สามารถใช้สมการกำลังสองได้ [ระบบคำศัพท์/สัญลักษณ์] รากที่สอง
2.แผนภูมิ 1) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของแผนภูมิบนพื้นฐานของสามเหลี่ยมคล้ายและพัฒนาความสามารถการพิจารณาความคล้ายอย่างมีเหตุผล - เข้าใจความคล้ายของแผนภูมิคุณสมบัติของแผนภูมิและสามเหลี่ยม - เส้นขนานส่วนของมุมและมีความรู้เกี่ยวกับความคล้าย 2) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีบทปีทาโกรัสและการนำไปใช้ - การพิสูจน์ทฤษฎีปีทาโกรัส - เข้าใจความหมายทฤษฎีของปีทาโกรัส 3.ความสัมพันธ์ของจำนวนและปริมาณ 1) นักเรียนมีความเข้าใจในฟังก์ชัน y = ax และหาความสัมพันธ์ได้ 2)มีความเข้าใจสามารถอธิบายกราฟของฟังก์ชัน y = ax และอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันได้ [ระบบคำศัพท์ / สัญลักษณ์] ; คลิก กลับสู่หน้าหลัก
เกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมตอนปลายเกี่ยวกับหลักสูตรโรงเรียนมัธยมตอนปลาย ถึงแม้ว่าการศึกษาในมัธยมปลายไม่ใช่ใช้การบังคับการพัฒนาเส้นทางนำร่องเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรับโรงเรียนมัธยมตอนปลายส่วนมากโรงเรียนมัธยมตอนปลายของรัฐสม่ำเสมอหรือสถาบันการศึกษาโรงเรียนมัธยมปลายและอาชีพโรงเรียน, เช่นเดียวกันกับธุรกิจและแห่งอุตสาหกรรมโรงเรียนมัธยมปลายความต้องการเกี่ยวกับหลักสูตรสำหรับนักเรียนโรงเรียนมัธยมตอนปลายรวมถึงการทำให้สมบูรณ์ของของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระหว่างสามปีในโรงเรียนมัธยมปลายมีความต้องการสูงกว่าสำหรับวิทยาศาสตร์ให้ใช้วิทยาศาสตร์ทั่วไปเท่านั้นที่สถาบันการศึกษาโรงเรียนมัธยมปลาย
เนื้อหาหัวข้อที่ต้องการในบรรดาภาษาญี่ปุ่นนักเรียนโรงเรียนมัธยมปลายเนื้อหาหัวข้อที่ต้องการในบรรดาภาษาญี่ปุ่นนักเรียนโรงเรียนมัธยมปลาย หัวข้อเครดิตจำนวนมากมายที่ต้องการ ภาษาภาษาญี่ปุ่น 4 ภูมิศาสตร์และอดีตที่ผ่านมา2 หรือ 4 การศึกษาเกี่ยวกับเมืองนคร4 คณิตศาสตร์4 วิทยาศาสตร์4 ~ 8 สุขภาพ2 การศึกษาทางกายภาพ9 ศิลปะ3 หรือ 4 งานบ้าน4
เนื้อหาสาระ ชั้นที่ 10 - 12 - ในชั้นที่ 10 – 12 จะเรียน 6 วิชาด้วยกันคือคณิตศาสตร์ 1 2 3 และคณิตศาสตร์ A , B , C ในคณิตศาสตร์ 1นักเรียนเรียนรู้เรื่องฟังก์ชันสี่เหลี่ยมจัตุรัส,ตรีโกณมิติ ,การเปลี่ยนลำดับและอนุพันธ์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ 2ครอบคลุมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนเชียล , ฟังก์ชันตรีโกนมิติ , เรขาคณิตวิเคราะห์ , แคลคูลัส ในคณิตศาสตร์ 3ครอบคลุมแคลคูลัสฟังก์ชันและลิมิตของฟังชันอนุกรม ในคณิตศาสตร์Aเกี่ยวกับพีชคณิต, ความเท่ากันและไม่เท่ากัน, เรขาคณิตระนาบ , การเหนี่ยวนำเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และทฤษฏีบทการเสดงค่าผลบวกหรือผลต่างกระบวนการคำนวณและการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ในวิชานี้ ในคณิตศาสตร์Bนักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์Cเมทตริกซ์ , ระบบสมการเชิงเส้นและพิกัดเชิงขั้ว คลิก กลับสูหน้าหลัก
รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์รูปแบบความแตกต่างของคณิตศาสตร์ การศึกษาคณิตศาสตร์ในอุดมศึกษาและอุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย(K – 12) ในสหรัฐอเมริกาได้มีการปฏิรูปมากมายในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาทำให้เกิดเป็นการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศที่สาม (TIMSS) ในช่วงตุลา 1996 ทำให้เกิดความสนใจจากที่อื่นๆโดยเฉพาะญี่ปุ่นได้มีการปรับปรุงหลักสูตรในระดับ K- 12 หลังจากนั้นไม่นานนักศึกษาระดับอุดมศึกษายังจัดตั้งคณะกรรมการของผู้ให้ความรู้และนักคณิตศาสตร์เพื่อตรวจสอบการศึกษาคณิตศาสตร์ระดับอุดมศึกษาในญี่ปุ่นความสำเร็จของระบบการศึกษานี้ทำในนักเรียนมีความเก่งทางด้านคณิตศาสตร์และเป็นที่รู้จักจากประเทศอื่นๆ ( การศึกษาคณิตศาสตร์ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ( K - 12 ) ) หลักสูตรในการศึกษาระดับประถมของญี่ปุ่น ( ป.1 –ป.6 ) จุดประสงค์ในระดับนี้คือพัฒนาเด็กให้มีความรู้พื้นฐานและความชำนาญเรื่องตัวเลขการคำนวณ , ปริมาณและการวัดและพื้นฐานเกี่ยวกับเรขาคณิต
- ในระดับชั้น 1 – 3 ให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลขและวิธีการ, พื้นฐานความคิดเห็นเรื่องการวัด, วิธีเฝ้าสังเกตรูปร่างของวัตถุที่เป็นรูปธรรมและวิธีสร้างมัน, วิธีจัดเรียงข้อมูลและใช้กราฟบอกขนาดปริมาณความสัมพันธ์ให้เด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกลบคูณเรียนรู้วิธีการคำนวณการคูณและการแบ่งแยกของจำนวนเต็มให้เด็กคุ้นเคยกับทศนิยมและเศษส่วน - ในชั้นที่ 3 เด็กเรียนรู้พื้นฐานการวัดการอ่านนาฬิกาการเปรียบเทียบปริมาณของความยาวพื้นที่ระดับเสียงและขนาดที่เปรียบเทียบในแง่ของตัวเลขและการใช้เครื่องมือแสดงวิธีวัดปริมาณมูลฐาน - ในชั้นที่ 4 ให้เด็กมีความสามารถในการคำนวณพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนเต็มและการบวกลบของทศนิยมและเศษส่วนได้ - ในชั้นที่ 5 – 6ให้เด็กเรียนรู้วิธีการคูณและหารทศนิยมและเศษส่วนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่และวิธีวัดพื้นที่และขนาดของมุมเกี่ยวกับเรขาคณิตอย่างง่ายมีความสอดคล้องกันและให้เด็กระบบตามเมตริกซ์ครูแสดงวิธีจัดเรียงข้อมูลและใช้กราฟที่จะช่วยให้เด็กแสดงขนาดของปริมาณเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับสถิติ - ในชั้นที่ 7 นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลขที่เป็นบวก, เป็นลบ, ความหมายของสมการ, สัญลักษณ์และการบวกเกี่ยวกับพีชคณิต
ในชั้นที่ 8 นักเรียนสามารถที่จะคำนวณและเปลี่ยนรูปกกระบอกเกี่ยวกับพีชคณิตการใช้สัญลักษณ์และการแก้ความเสมอภาคเชิงเส้น , ความไม่เท่ากันเชิงเส้น , เรขาคณิตระนาบ - ในชั้นที่ 9 นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีแก้สมการสี่เหลี่ยมจัตุรัสคุณสมบัติของสามเหลี่ยมด้านขวางและวงกลม , ฟังก์ชัน , และความน่าจะเป็น - ในชั้นที่ 10 – 12 จะเรียน 6 วิชาด้วยกันคือคณิตศาสตร์ 1 2 3 และคณิตศาสตร์ A , B , C ในคณิตศาสตร์ 1 นักเรียนเรียนรู้เรื่องฟังก์ชันสี่เหลี่ยมจัตุรัส,ตรีโกณมิติ ,การเปลี่ยนลำดับและอนุพันธ์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ 2 ครอบคลุมฟังก์ชันเอ็กซ์โพรแนนเทียล , ฟังก์ชันตรีโกนมิติ , เรขาคณิตวิเคราะห์ , แคลคูลัส ในคณิตศาสตร์ 3 ครอบคลุมแคลคูลัสฟังก์ชันและลิมิตของฟังชันอนุกรม ในคณิตศาสตร์ A เกี่ยวกับพีชคณิต, ความเท่ากันและไม่เท่ากัน, เรขาคณิตระนาบ , การเหนี่ยวนำเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และทฤษฏีบทการเสดงค่าผลบวกหรือผลต่างกระบวนการคำนวณและการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ในวิชานี้ ในคณิตศาสตร์ B นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์และความน่าจะเป็น ในคณิตศาสตร์ C เมตริกซ์ , ระบบสมการเชิงเส้นและพิกัดเชิงขั้ว คลิก
อ้างอิง (1) The Tsukuba Association for International Education Studies, (eds.), Education in Japan.Gakken, 1998. (2) IFIC/JICA (eds.), The History of Japan’s educational Development, JICA, 2004. (3) ISODA, M., Japanese Lesson Study Origin and Some Cases, Original PP., 2003 (4) OECD (eds.), Education at a glance : OECD indicators. Gyohsei, 1996 (5) hird International Mathematics and Science Study ( 6 Dec. 1996 ) : Internet. January 2, 1997. See http : //www.ed.gov/ NCES/timss/brochure.html. (6) http://www.michinoku.ne.jp/~sugayuki/homel.html
สมาชิกในกลุ่ม นายธีระพงษ์ มุ่งชู รหัส471108117 เอกคณิตศาสตร์ คบ.ปีที่ 2 MATHEMATICS EDUCATION 2004 นายไกรวุฒิ พันธุ์พรหม รหัส471108137 เอกคณิตศาสตร์ ปีที่2 MATHEMATICS EDUCATION 2004 นายวสันต์ ศรีแสน รหัส 471108138 เอกคณิตศาสตร์ปีที่ 2 MATHEMATICS EDUCATION 2004